ตูริน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตูริน

Torino
Città di Torino
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ธงของตูริน
ธง
ตราราชการของตูริน
ตราอาร์ม
แผนที่แสดงที่ตั้งของตูริน
แผนที่
ประเทศอิตาลี
แคว้นปีเยมอนเต
จังหวัดปริมณฑลตูริน
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีPiero Fassino (PD)
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด130.17 ตร.กม. (50.26 ตร.ไมล์)
ความสูง239 เมตร (784 ฟุต)
ประชากร
 (31 August 2015)[3]
 • ทั้งหมด892,649 คน
 • ความหนาแน่น6,900 คน/ตร.กม. (18,000 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมTorinese (pl. Torinesi)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสไปรษณีย์10100, 10121-10156
รหัสเขตโทรศัพท์011
นักบุญองค์อุปถัมภ์ยอห์นผู้ให้บัพติศมา
วันสมโภชนักบุญ24 มิถุนายน
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

ตูริน[4] (อังกฤษ: Turin) หรือ ตอรีโน[4] (อิตาลี: Torino, ออกเสียง: [toˈriːno] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองหลักของแคว้นปีเยมอนเตในประเทศอิตาลี เป็นทั้งเมืองศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภาคเหนือของอิตาลี ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำโป มีประชากร 908,000 คน (ค.ศ. 2004) และ 2.2 ล้านคนเมื่อรวมปริมณฑล (สถิติองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา)

บริษัทผลิตรถยนต์เฟียตมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นี่และบริษัทรถยนต์บางบริษัทก็เริ่มกิจการที่เมืองนี้ ฉะนั้นตูรินจึงมีชื่อเล่นว่าเป็นเมืองหลวงของการผลิตรถยนต์ในประเทศอิตาลี นอกจากนั้นตูรินยังเป็นเมืองหลวงเมืองแรกของสหรัฐอิตาลี[5]

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของนครตูริน
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 25.1
(77.2)
24.8
(76.6)
27.4
(81.3)
31.0
(87.8)
32.3
(90.1)
35.6
(96.1)
36.8
(98.2)
37.1
(98.8)
32.2
(90)
30.0
(86)
22.8
(73)
21.4
(70.5)
37.1
(98.8)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.6
(43.9)
9.1
(48.4)
13.4
(56.1)
16.6
(61.9)
20.7
(69.3)
24.8
(76.6)
27.9
(82.2)
27.1
(80.8)
23.0
(73.4)
17.3
(63.1)
11.1
(52)
7.6
(45.7)
17.1
(62.8)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 2.1
(35.8)
4.3
(39.7)
8.1
(46.6)
11.1
(52)
15.5
(59.9)
19.4
(66.9)
22.4
(72.3)
21.8
(71.2)
17.8
(64)
12.4
(54.3)
6.5
(43.7)
3.1
(37.6)
12.0
(53.6)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -2.5
(27.5)
-0.7
(30.7)
2.7
(36.9)
5.7
(42.3)
10.4
(50.7)
14.0
(57.2)
16.9
(62.4)
16.5
(61.7)
12.7
(54.9)
7.4
(45.3)
1.9
(35.4)
-1.6
(29.1)
7.0
(44.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -18.5
(-1.3)
-21.8
(-7.2)
-10.5
(13.1)
-3.8
(25.2)
-2.3
(27.9)
4.3
(39.7)
6.6
(43.9)
6.3
(43.3)
1.8
(35.2)
-3.9
(25)
-8.2
(17.2)
-13.8
(7.2)
−21.8
(−7.2)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 47.8
(1.882)
47.1
(1.854)
72.5
(2.854)
113.3
(4.461)
145.3
(5.72)
104.3
(4.106)
70.5
(2.776)
76.1
(2.996)
83.8
(3.299)
106.1
(4.177)
69.1
(2.72)
45.1
(1.776)
981.0
(38.622)
ความชื้นร้อยละ 75 75 67 72 75 74 72 73 75 79 80 80 75
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 5.4 4.4 5.8 8.6 11.2 8.6 5.8 7.7 6.4 7.0 5.6 4.4 80.9
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 111.6 118.7 158.1 180.0 195.3 219.0 260.4 223.2 168.0 142.6 105.0 108.5 1,990.4
แหล่งที่มา: Italian Air Force Meteorological Service[6][7][8]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Superficie di Comuni Province e Regioni italiane al 9 ottobre 2011". สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2019.
  2. "Popolazione Residente al 1° Gennaio 2018". สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2019.
  3. ‘City’ population (i.e. that of the comune or municipality) from [www.demo.istat.it/bilmens2012gen/index.html], ISTAT.
  4. 4.0 4.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  5. "The city's history". Turismo e promozione. Città di Torino. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-22. สืบค้นเมื่อ August 31, 2007.
  6. "Torino/Caselle (TO)" (PDF). Atlante climatico. Servizio Meteorologico. สืบค้นเมื่อ December 11, 2014.
  7. "STAZIONE 059-TORINO CASELLE: medie mensili periodo 61 - 90" (ภาษาอิตาลี). Servizio Meteorologico. สืบค้นเมื่อ December 11, 2014.
  8. "Torino Caselle: Record mensili dal 1946" (ภาษาอิตาลี). Servizio Meteorologico dell’Aeronautica Militare. สืบค้นเมื่อ December 11, 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]