จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ79.59%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
เลือกตั้งล่าสุด 1 1 0
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 Steady0
คะแนนเสียง 150,023 61,326 38,832
% 54.83 22.41 14.19

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 150,023 54.83%
ประชาธิปัตย์ 61,326 22.41%
ชาติไทย 38,832 14.19%
อื่น ๆ 23,432 8.57%
ผลรวม 273,613 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
54.83%
ประชาธิปัตย์
  
22.41%
ชาติไทย
  
14.19%
อื่น ๆ
  
8.57%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 42,014 50.09% 21,357 25.46% 16,876 20.12% 3,628 4.33% 83,875 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 51,348 53.69% 17,341 18.13% 13,250 13.86% 13,694 14.32% 95,633 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 56,661 60.21% 22,628 24.05% 8,706 9.25% 6,110 6.49% 94,105 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 150,023 54.83% 61,326 22.41% 38,832 14.19% 23,432 8.57% 273,613 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ไทยรักไทย 3 127,064 47.97% 3 เพิ่มขึ้น1 100.00%
ชาติไทย 3 72,669 27.43% 0 Steady 0.00%
ประชาธิปัตย์ 3 42,188 15.93% 0 ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 4 22,968 8.67% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 13 264,889 100.00% 3 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
47.97%
ชาติไทย
  
27.43%
ประชาธิปัตย์
  
15.93%
อื่น ๆ
  
8.67%
ที่นั่ง
ไทยรักไทย
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ชาติไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 39,350 47.71% 33,119 40.15% 9,072 11.00% 937 1.14% 82,478 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 36,821 40.23% 23,552 25.73% 11,970 13.08% 19,183 20.96% 91,526 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 50,893 56.00% 15,998 17.60% 21,146 23.27% 2,848 3.14% 90,885 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 127,064 47.97% 72,669 27.43% 42,188 15.93% 22,968 8.67% 264,889 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดจันทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 38,832 14.19
กิจสังคม (2) 442 0.16
พัฒนาชาติไทย (3) 918 0.34
ประชาธิปัตย์ (4) 61,326 22.41
ประชาชนไทย (5) 445 0.16
คนขอปลดหนี้ (6) 1,006 0.37
ธรรมชาติไทย (7) 350 0.13
แผ่นดินไทย (8) 523 0.19
ไทยรักไทย (9) 150,023 54.83
ความหวังใหม่ (10) 397 0.15
มหาชน (11) 13,167 4.81
ประชากรไทย (12) 308 0.11
ไทยช่วยไทย (13) 407 0.15
แรงงาน (14) 1,327 0.49
ชาติประชาธิปไตย (15) 1,241 0.45
กสิกรไทย (16) 379 0.14
ทางเลือกที่สาม (17) 85 0.03
รักษ์ถิ่นไทย (18) 175 0.06
พลังเกษตรกร (19) 2,033 0.74
พลังประชาชน (20) 229 0.08
บัตรดี 273,613 95.05
บัตรเสีย 10,938 3.80
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,318 1.15
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 287,869 79.59
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 361,706 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองจันทบุรี และอำเภอแหลมสิงห์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย กล้าณรงค์ พงษ์เจริญ (9) 39,350 47.71
ชาติไทย ธวัชชัย อนามพงษ์ (1)* 33,119 40.15
ประชาธิปัตย์ พิสิษฐ์ ศรีประสม (4) 9,072 11.00
มหาชน เจษฎา บัณฑูรรังษี (11) 937 1.14
ผลรวม 82,478 100.00
บัตรดี 82,478 93.64
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,803 2.05
บัตรเสีย 3,802 4.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,083 81.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,485 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอท่าใหม่ อำเภอนายายอาม อำเภอแก่งหางแมว อำเภอมะขาม (เฉพาะตำบลวังแซ้มและตำบลฉมัน) และกิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พลตำรวจตรี พยุง ตรงสวัสดิ์ (9) 36,821 40.23
ชาติไทย คมคาย พลบุตร (1)* 23,552 25.73
มหาชน ยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา (11) 19,183 20.96
ประชาธิปัตย์ สงกรานต์ บุญหยง (4) 11,970 13.08
ผลรวม 91,526 100.00
บัตรดี 91,526 90.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,900 1.88
บัตรเสีย 7,452 7.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,878 80.56
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,221 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอสอยดาว อำเภอโป่งน้ำร้อน อำเภอขลุง และอำเภอมะขาม (ยกเว้นตำบลวังแซ้มและตำบลฉมัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พงศ์เวช เวชชาชีวะ (9)* 50,893 56.00
ประชาธิปัตย์ ชยันต์ เนรัญชร (4) 21,146 23.27
ชาติไทย แสนคม อนามพงษ์ (1) 15,998 17.60
มหาชน รชตะ สาสะเน (11) 2,386 2.63
ความหวังใหม่ สมโพธน์ ถนอมจิต (10) 462 0.51
ผลรวม 90,885 100.00
บัตรดี 90,885 91.89
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,666 1.68
บัตรเสีย 6,357 6.43
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 98,908 77.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,000 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.