จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ65.22%
  First party Second party
 
พรรค ไทยรักไทย ชาติไทย
เลือกตั้งล่าสุด 3 2
ที่นั่งก่อนหน้า 7 2
ที่นั่งที่ชนะ 8 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1
คะแนนเสียง 480,682 86,423
% 74.65 13.42

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 9 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดศรีสะเกษ)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 480,682 74.65%
ชาติไทย 86,423 13.42%
อื่น ๆ 76,783 11.93%
ผลรวม 643,888 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
74.65%
ชาติไทย
  
13.42%
อื่น ๆ
  
11.93%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดศรีสะเกษ)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 86,423 13.42
กิจสังคม (2) 1,526 0.24
พัฒนาชาติไทย (3) 1,495 0.23
ประชาธิปัตย์ (4) 18,993 2.95
ประชาชนไทย (5) 1,383 0.22
คนขอปลดหนี้ (6) 5,328 0.83
ธรรมชาติไทย (7) 930 0.14
แผ่นดินไทย (8) 2,576 0.40
ไทยรักไทย (9) 480,682 74.65
ความหวังใหม่ (10) 1,657 0.26
มหาชน (11) 26,291 4.08
ประชากรไทย (12) 923 0.14
ไทยช่วยไทย (13) 1,376 0.21
แรงงาน (14) 656 0.10
ชาติประชาธิปไตย (15) 811 0.13
กสิกรไทย (16) 638 0.10
ทางเลือกที่สาม (17) 287 0.05
รักษ์ถิ่นไทย (18) 781 0.12
พลังเกษตรกร (19) 10,491 1.63
พลังประชาชน (20) 641 0.10
บัตรดี 643,888 96.10
บัตรเสีย 21,077 3.15
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,087 0.76
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 670,052 65.22
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,027,438 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษ และอำเภอยางชุมน้อย (ยกเว้นตำบลยางชุมน้อยและตำบลโนนคูณ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ธเนศ เครือรัตน์ (9)* 40,492 53.47
ชาติไทย สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ (1) 33,835 44.68
ประชาธิปัตย์ เสนีย์ ช่างเพ็ชร์ (4) 956 1.26
ความหวังใหม่ วีระ จันทร์ดวงศรี (11) 355 0.47
ประชาชนไทย วีระพล สุขสนอง (5) 91 0.12
ผลรวม 75,729 100.00
บัตรดี 75,729 93.84
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,351 1.67
บัตรเสีย 3,619 4.48
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 80,699 70.31
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,768 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอกันทรารมย์ อำเภอน้ำเกลี้ยง และอำเภอโนนคูณ (เฉพาะตำบลบกและตำบลโพธิ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พิทยา บุญเฉลียว (9)* 40,172 57.46
ชาติไทย อภิชาติ ชาญประดิษฐ์ (1) 25,328 36.23
มหาชน พิศ สายสิงห์ (11) 2,226 3.18
ประชาธิปัตย์ กมล แสงเดช (4) 1,734 2.48
ความหวังใหม่ กฤษนัย นัยนิตย์ (10) 366 0.52
ไทยช่วยไทย พิทยา นักรำ (13) 85 0.12
ผลรวม 69,911 100.00
บัตรดี 69,911 92.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,082 1.44
บัตรเสีย 4,380 5.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,373 67.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,654 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอศรีรัตนะ อำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงินและตำบลตระกาจ) อำเภอเบญจลักษ์ อำเภอไพรบึง (ยกเว้นตำบลดินแดงและตำบลสำโรงพลัน) และอำเภอโนนคูณ (ยกเว้นตำบลบกและตำบลโพธิ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ (9)✔ 42,242 61.76
ชาติไทย ธีระ ไตรสรณกุล (1) 24,292 35.52
มหาชน สุรชัย ชินชัย (11) 1,043 1.52
ประชาธิปัตย์ สุรณัฐ แนบเนียม (4) 820 1.20
ผลรวม 68,397 100.00
บัตรดี 68,397 91.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 811 1.09
บัตรเสีย 5,278 7.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,486 65.41
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,883 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลชำ ตำบลละลาย ตำบลภูเงิน และตำบลตระกาจ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ (9)* 37,857 55.20
ชาติไทย ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ (1)** 30,013 43.76
ประชาธิปัตย์ วินัย มณีกสิพันธ์ (4) 645 0.94
ประชาชนไทย ภานุพงศ์ ไชยวิเศษ (5) 64 0.09
ผลรวม 68,579 100.00
บัตรดี 68,579 92.16
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 842 1.13
บัตรเสีย 4,989 6.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,410 64.38
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,581 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอขุนหาญ อำเภอภูสิงห์ และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลชำและตำบลละลาย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย อมรเทพ สมหมาย (9)* 38,351 57.60
ชาติไทย ดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ (1)✔ 21,238 31.90
มหาชน บัญชร แก้วส่อง (11) 5,452 8.19
ประชาธิปัตย์ ศักดา กาญจนเสน (4) 812 1.22
ประชาชนไทย เศรษฐศิษฏ์ ณุวงค์ศรี (5) 733 1.10
ผลรวม 66,586 100.00
บัตรดี 66,586 90.14
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,079 1.46
บัตรเสีย 6,207 8.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,872 63.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,454 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอขุขันธ์ และอำเภอไพรบึง (เฉพาะตำบลดินแดงและตำบลสำโรงพลัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย วีระพล จิตสัมฤทธิ์ (1) 31,736 46.77
ไทยรักไทย พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง (9)* 29,486 43.45
มหาชน อภิสิทธิ์ สุระนรากุล (11) 5,044 7.43
ประชาธิปัตย์ พลเดช ศรีบุญเรือง (4) 1,474 2.17
ประชาชนไทย ดำริห์ บุญสาลี (5) 117 0.17
ผลรวม 67,857 100.00
บัตรดี 67,857 90.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,252 1.66
บัตรเสีย 6,197 8.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,306 65.39
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,158 100.00
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอปรางค์กู่ อำเภอวังหิน อำเภอห้วยทับทัน (เฉพาะตำบลผักไหม) และอำเภอพยุห์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย มาลินี อินฉัตร (9)✔ 53,490 83.00
ชาติไทย ทัศนีย์ เกษกุล (1) 4,367 6.78
ประชาธิปัตย์ อุดม บัวเกษ (4) 3,745 5.81
มหาชน ชัย ศรีคราม (11) 2,845 4.41
ผลรวม 64,447 100.00
บัตรดี 64,447 90.78
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,716 2.42
บัตรเสีย 4,828 6.80
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,991 63.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,430 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอห้วยทับทัน (ยกเว้นตำบลผักไหม) และอำเภอเมืองจันทร์ (ยกเว้นตำบลตาโกน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย มานพ จรัสดำรงนิตย์ (9)* 37,180 57.55
มหาชน ไพโรจน์ วงศ์พรหม (11) 27,426 42.45
ชาติไทย ประกาศิต สุพรหมธรกูร (1)
ประชาธิปัตย์ โกวิท ศรีสลับ (4)
ผลรวม 64,606 100.00
บัตรดี 64,606 90.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,222 1.71
บัตรเสีย 5,731 8.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 71,559 63.09
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,430 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 9[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอราษีไศล อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอยางชุมน้อย (เฉพาะตำบลยางชุมน้อยและตำบลโนนคูณ) อำเภอเมืองจันทร์ (เฉพาะตำบลตาโกน) กิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และ กิ่งอำเภอศิลาลาด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ปวีณ แซ่จึง (9) 60,649 89.78
มหาชน เชาวลิต ศิลารักษ์ (11) 4,324 6.40
ชาติไทย สมศักดิ์ ศรีภักดิ์ (1) 1,324 1.96
ประชาธิปัตย์ พินิต ศิริวัฒนชัยศิลป์ (4) 1,255 1.86
ผลรวม 67,552 100.00
บัตรดี 67,552 92.10
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,576 2.15
บัตรเสีย 4,221 5.75
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,349 63.79
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,983 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)