ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะโลกร้อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''ปรากฏการณ์โลกร้อน''' (Global warming) หมายถึงการเพิ่มของ[[อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก]]ของอากาศที่ระดับใกล้ผิวโลกและของน้ำใน[[มหาสมุทร]]ในช่วงไม่กี่[[ทศวรรษ]]ที่ผ่านมาและรวมถึงการพยากรณ์หรือคาดการณ์ในการเพิ่มที่ต่อเนื่อง
'''ปรากฏการณ์โลกร้อน''' (Global warming) หมายถึงการเพิ่มของ[[อุณหภูมิเฉลี่ยของโลก]]ของอากาศที่ระดับใกล้ผิวโลกและของน้ำใน[[มหาสมุทร]]ในช่วงไม่กี่[[ทศวรรษ]]ที่ผ่านมาและรวมถึงการพยากรณ์หรือคาดการณ์ในการเพิ่มที่ต่อเนื่อง


อุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยของอากาศที่ใกล้ผิวดินเพิ่ม 0.74 ± 0.18 °ซ ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมานับถึง พ.ศ. 2548.<ref name="grida7">{{cite web | url= http://ipcc-wg1.ucar.edu/wg1/Report/AR4WG1_Print_SPM.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | title=Summary for Policymakers | work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change | accessdate=2007-02-02 | date=[[2007-02-05]] | publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]]|quote=The updated 100-year linear trend (1906 to 2005) of 0.74°C [0.56°C to 0.92°C] is therefore larger than the corresponding trend for 1901 to 2000 given in the TAR of 0.6°C [0.4°C to 0.8°C].}}</ref> [[คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]] (Intergovernmental Panel on Climate Change-IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่ม[[อุณหภูมิ]]โดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของ[[แก๊สเรือนกระจก]]ที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของ[[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]]”<ref name="grida7" /> ปรากฏการณ์ธรรมชาติเช่น[[การผันแปรในการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์]]และการระเบิดของ[[ภูเขาไฟ]]อาจมีผลเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อน[[ยุคอุตสาหกรรม]]จนถึง [[พ.ศ. 2490]] และผลด้านการลดอุณหภูมินับแต่ปี 2490 เป็นต้นมา<ref>
อุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยของอากาศที่ใกล้ผิวดินเพิ่ม 0.74 ± 0.18 °ซ ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมานับถึง พ.ศ. 2548<ref name="grida7">{{cite web | url= http://ipcc-wg1.ucar.edu/wg1/Report/AR4WG1_Print_SPM.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | title=Summary for Policymakers | work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change | accessdate=2007-02-02 | date=[[2007-02-05]] | publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]]|quote=The updated 100-year linear trend (1906 to 2005) of 0.74°C [0.56°C to 0.92°C] is therefore larger than the corresponding trend for 1901 to 2000 given in the TAR of 0.6°C [0.4°C to 0.8°C].}}</ref> [[คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]] (Intergovernmental Panel on Climate Change-IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่ม[[อุณหภูมิ]]โดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของ[[แก๊สเรือนกระจก]]ที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของ[[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]]”<ref name="grida7" /> ปรากฏการณ์ธรรมชาติเช่น[[การผันแปรในการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์]]และการระเบิดของ[[ภูเขาไฟ]]อาจมีผลเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อน[[ยุคอุตสาหกรรม]]จนถึง [[พ.ศ. 2490]] และผลด้านการลดอุณหภูมินับแต่ปี 2490 เป็นต้นมา<ref>
{{cite web | url= http://ipcc-wg1.ucar.edu/wg1/Report/AR4WG1_Print_Ch09.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | title=Understanding and Attributing Climate Change | work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change | accessdate=2007-05-20 | date=[[2007-05-07]] | publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]] | last=Hegerl | first=Gabriele C. | coauthors=''et al.'' | pages=690
{{cite web | url= http://ipcc-wg1.ucar.edu/wg1/Report/AR4WG1_Print_Ch09.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | title=Understanding and Attributing Climate Change | work=Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change | accessdate=2007-05-20 | date=[[2007-05-07]] | publisher=[[Intergovernmental Panel on Climate Change]] | last=Hegerl | first=Gabriele C. | coauthors=''et al.'' | pages=690
| quote=Recent estimates (Figure 9.9) indicate a relatively small combined effect of natural forcings on the global mean temperature evolution of the seconds half of the 20th century, with a small net cooling from the combined effects of solar and volcanic forcings}}
| quote=Recent estimates (Figure 9.9) indicate a relatively small combined effect of natural forcings on the global mean temperature evolution of the seconds half of the 20th century, with a small net cooling from the combined effects of solar and volcanic forcings}}
</ref><ref>{{cite journal | last=Ammann | first = Caspar | coauthors =''et al.'' | date=[[2007-04-06]] | title=Solar influence on climate during the past millennium: Results from ransient simulations with the NCAR Climate Simulation Model | journal=Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume=104 | issue=10 | pages=3713–3718 | url=http://www.pnas.org/cgi/reprint/104/10/3713.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | quote=However, because of a lack of interactive ozone, the model cannot fully simulate features discussed in (44)." "While the NH temperatures of the high-scaled experiment are often colder than the lower bound from proxy data, the modeled decadal-scale NH surface temperature for the medium-scaled case falls within the uncertainty range of the available temperature reconstructions. The medium-scaled simulation also broadly reproduces the main features seen in the proxy records." "Without anthropogenic forcing, the 20th century warming is small. The simulations with only natural forcing components included yield an early 20th century peak warming of ≈0.2&nbsp;°C (≈1950 AD), which is reduced to about half by the end of the century because of increased volcanism.}}
</ref><ref>{{cite journal | last=Ammann | first = Caspar | coauthors =''et al.'' | date=[[2007-04-06]] | title=Solar influence on climate during the past millennium: Results from ransient simulations with the NCAR Climate Simulation Model | journal=Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume=104 | issue=10 | pages=3713–3718 | url=http://www.pnas.org/cgi/reprint/104/10/3713.pdf | format=[[Portable Document Format|PDF]] | quote=However, because of a lack of interactive ozone, the model cannot fully simulate features discussed in (44)." "While the NH temperatures of the high-scaled experiment are often colder than the lower bound from proxy data, the modeled decadal-scale NH surface temperature for the medium-scaled case falls within the uncertainty range of the available temperature reconstructions. The medium-scaled simulation also broadly reproduces the main features seen in the proxy records." "Without anthropogenic forcing, the 20th century warming is small. The simulations with only natural forcing components included yield an early 20th century peak warming of ≈0.2&nbsp;°C (≈1950 AD), which is reduced to about half by the end of the century because of increased volcanism.}}


</ref> ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้ง[[ราชสมาคม]]ทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติของชาติสำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่างๆ<ref>The 2001 joint statement was signed by the scientific academies of Australia, Belgium, Brazil, Canada, the Caribbean, China, France, Germay, India, Indonesia, Ireland, Italy, Malaysia, New Zealand, Sweden, and the UK. The 2005 statement added Japan, Russia, and the U.S. The 2007 statement added Mexico, and South Africa. Professional societies include American Meteorological Society, American Geophysical Union, American Institute of Physics, American Astronomical Society, American Association for the Advancement of Science, Stratigraphy Commission of the Geological Society of London, Geological Society of America, American Chemical Society, and Engineers Australia.</ref> แม้จะมีนักวิทยาศาสตร์รายบุคคลบางคนมีความเห็นโต้แย้งในข้อสรุปของ IPPC อยู่บ้าง<ref>{{cite web | title = Don't fight, adapt | publisher = [[National Post]] | url = http://www.nationalpost.com/news/story.html?id=164002 | accessdate = 2007-11-18 | date = December 2007}}</ref> แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้.<ref>{{cite web | title = A guide to facts and fictions about climate change | publisher = [[Royal Society]] | url = http://www.royalsoc.ac.uk/downloaddoc.asp?id=1630 | accessdate = 2007-11-18 | date = March 2005 | quote = "However, the overwhelming majority of scientists who work on climate change agree on the main points"}}</ref><ref>{{cite web | title = Beyond the Ivory Tower: The Scientific Consensus on Climate Change | publisher = [[Science Magazine]] | url = http://www.sciencemag.org/cgi/content/full/306/5702/1686 | accessdate = 2008-01-04 | date = December 2004}}</ref>
</ref> ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้ง[[ราชสมาคม]]ทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติของชาติสำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่างๆ<ref>The 2001 joint statement was signed by the scientific academies of Australia, Belgium, Brazil, Canada, the Caribbean, China, France, Germay, India, Indonesia, Ireland, Italy, Malaysia, New Zealand, Sweden, and the UK. The 2005 statement added Japan, Russia, and the U.S. The 2007 statement added Mexico, and South Africa. Professional societies include American Meteorological Society, American Geophysical Union, American Institute of Physics, American Astronomical Society, American Association for the Advancement of Science, Stratigraphy Commission of the Geological Society of London, Geological Society of America, American Chemical Society, and Engineers Australia.</ref> แม้จะมีนักวิทยาศาสตร์รายบุคคลบางคนมีความเห็นโต้แย้งในข้อสรุปของ IPPC อยู่บ้าง<ref>{{cite web | title = Don't fight, adapt | publisher = [[National Post]] | url = http://www.nationalpost.com/news/story.html?id=164002 | accessdate = 2007-11-18 | date = December 2007}}</ref> แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้<ref>{{cite web | title = A guide to facts and fictions about climate change | publisher = [[Royal Society]] | url = http://www.royalsoc.ac.uk/downloaddoc.asp?id=1630 | accessdate = 2007-11-18 | date = March 2005 | quote = "However, the overwhelming majority of scientists who work on climate change agree on the main points"}}</ref><ref>{{cite web | title = Beyond the Ivory Tower: The Scientific Consensus on Climate Change | publisher = [[Science Magazine]] | url = http://www.sciencemag.org/cgi/content/full/306/5702/1686 | accessdate = 2008-01-04 | date = December 2004}}</ref>


[[แบบจำลอง]]การคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 °ซ ในช่วงคริสตศตวรรษที่ 21 ([[พ.ศ. 2543]]-2643)<ref name="grida7" /> ช่วงของค่าตัวเลขได้จากการการจำลองสถานการณ์แบบต่างๆ ของสภาพไวของภูมิอากาศ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะพุ่งจุดไปที่ระยะเวลาถึง พ.ศ. 2643 แต่การร้อนขึ้นและ[[ระดับน้ำทะเล]]ที่สูงขึ้นจะยังคงเพิ่มต่อเนื่องไปอีกมากกว่า[[สหัสวรรษ]]แม้ระดับของ[[แก๊สเรือนกระจก]]จะอยู่ในภาวะสเถียรแล้วก็ตาม ความช้าในความสเถียรของอุณหภูมิและระดับน้ำทะเลเกิดจาก[[ความจุความร้อน]]ที่สูงของน้ำในมหาสมุทร<ref name="grida7" />
[[แบบจำลอง]]การคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 °ซ ในช่วงคริสตศตวรรษที่ 21 ([[พ.ศ. 2543]]-2643)<ref name="grida7" /> ช่วงของค่าตัวเลขได้จากการการจำลองสถานการณ์แบบต่างๆ ของสภาพไวของภูมิอากาศ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะพุ่งจุดไปที่ระยะเวลาถึง พ.ศ. 2643 แต่การร้อนขึ้นและ[[ระดับน้ำทะเล]]ที่สูงขึ้นจะยังคงเพิ่มต่อเนื่องไปอีกมากกว่า[[สหัสวรรษ]]แม้ระดับของ[[แก๊สเรือนกระจก]]จะอยู่ในภาวะสเถียรแล้วก็ตาม ความช้าในความสเถียรของอุณหภูมิและระดับน้ำทะเลเกิดจาก[[ความจุความร้อน]]ที่สูงของน้ำในมหาสมุทร<ref name="grida7" />
บรรทัด 194: บรรทัด 194:


== อ่านเพิ่มเติม ==
== อ่านเพิ่มเติม ==
<div class="references-small">

* Wikinews has related news: Climate change
* {{cite book
* Environment Portal
| title = Financial Risks of Climate Change
* Energy Portal
| author = Association of British Insurers
| year= 2005-06
| url=http://www.abi.org.uk/Display/File/Child/552/Financial_Risks_of_Climate_Change.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
}}

* {{cite journal

| last = Barnett | first = Tim P.
| coauthors = J. C. Adam, D. P. Lettenmaier
| date = [[2005-11-17]]
| title = Potential impacts of a warming climate on water availability in snow-dominated regions
| journal = [[Nature (journal)|Nature]]
| volume = 438 | issue = 7066 | pages = 303–309
| url = http://www.nature.com/nature/journal/v438/n7066/abs/nature04141.html
| doi = 10.1038/nature04141
}}

* {{cite journal

| last= Behrenfeld | first= Michael J.
| coauthors = Robert T. O'Malley, David A. Siegel, Charles R. McClain, Jorge L. Sarmiento, Gene C. Feldman, Allen G. Milligan, Paul G. Falkowski, Ricardo M. Letelier, Emanuel S. Boss
| date = [[2006-12-07]]
| title = Climate-driven trends in contemporary ocean productivity
| journal = [[Nature (journal)|Nature]]
| volume = 444 | issue = 7120 | pages = 752–755
| url=http://www.icess.ucsb.edu/~davey/MyPapers/Behrenfeld_etal_2006_Nature.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi=10.1038/nature05317
}}

* {{cite journal

| first = Onelack | last= Choi
| coauthors = Ann Fisher
| date = May 2005
| title = The Impacts of Socioeconomic Development and Climate Change on Severe Weather Catastrophe Losses: Mid-Atlantic Region (MAR) and the U.S.
| journal = Climate Change
| volume = 58 | issue = 1–2 | pages = 149–170
| doi = 10.1023/A:1023459216609
| url = http://www.springerlink.com/content/m6308777613702q0/
}}

* {{cite book

| last = Dyurgerov | first = Mark B.
| coauthors = Mark F. Meier
| year = 2005
| title = Glaciers and the Changing Earth System: a 2004 Snapshot
| publisher = Institute of Arctic and Alpine Research Occasional Paper #58
| url = http://instaar.colorado.edu/other/download/OP58_dyurgerov_meier.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| id = {{ISSN|0069-6145}}
}}

* {{cite journal

| last=Emanuel | first=Kerry A.
| authorlink=Kerry Emanuel
| date= [[2005-08-04]]
| title=Increasing destructiveness of tropical cyclones over the past 30 years.
| journal= [[Nature (journal)|Nature]]
| volume=436 | issue=7051 | pages=686–688
| url=ftp://texmex.mit.edu/pub/emanuel/PAPERS/NATURE03906.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi=10.1038/nature03906
}}

* {{cite journal

| last=Hansen | first=James
| authorlink=James Hansen
| coauthors=Larissa Nazarenko, Reto Ruedy, Makiko Sato, Josh Willis, Anthony Del Genio, Dorothy Koch, Andrew Lacis, Ken Lo, Surabi Menon, Tica Novakov, Judith Perlwitz, Gary Russell, [[Gavin A. Schmidt]], Nicholas Tausnev
| date= [[2005-06-03]]
| title=Earth's Energy Imbalance: Confirmation and Implications
| journal=[[Science (journal)|Science]]
| volume=308 | issue=5727 | pages=1431–1435
| url=http://pangea.stanford.edu/research/Oceans/GES205/Hansen_Science_Earth's%20Energy%20Balance.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi=10.1126/science.1110252
}}

* {{cite journal

| last= Hinrichs | first= Kai-Uwe
| coauthors=Laura R. Hmelo, Sean P. Sylva
| date=[[2003-02-21]]
| title = Molecular Fossil Record of Elevated Methane Levels in Late Pleistocene Coastal Waters
| journal = [[Science (journal)|Science]]
| volume = 299
| issue = 5610
| pages = 1214–1217
| doi= 10.1126/science.1079601
}}

* {{cite news

| last=Hirsch | first=Tim
| publisher=[[BBC]]
| url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/4604332.stm
| title=Plants revealed as methane source
| date=[[2006-01-11]]
}}

* {{cite journal

| last = Hoyt | first = Douglas V.
| coauthors = Kenneth H. Schatten
| year = 1993–11
| title = A discussion of plausible solar irradiance variations, 1700–1992
| journal = [[Journal of Geophysical Research]]
| volume = 98 | issue = A11 | pages = 18,895–18,906
| url = http://adsabs.harvard.edu/cgi-bin/nph-bib_query?bibcode=1993JGR....9818895H&amp;db_key=AST&amp;data_type=HTML&amp;format=&amp;high=448f267ff303582
}}

* {{cite book

| last = Kenneth | first = James P.
| coauthors = Kevin G. Cannariato, Ingrid L. Hendy, Richard J. Behl
| year = [[2003-02-14]]
| title = Methane Hydrates in Quaternary Climate Change: The Clathrate Gun Hypothesis
| publisher = [[American Geophysical Union]]
| url = https://www.agu.org/cgi-bin/agubooks?book=ASSP0542960
}}

* {{cite news

| last = Keppler | first = Frank
| coauthors = Marc Brass, Jack Hamilton, Thomas Röckmann
| title = Global Warming - The Blame Is not with the Plants
| url = http://www.mpg.de/english/illustrationsDocumentation/documentation/pressReleases/2006/pressRelease200601131/index.html
| publisher = [[Max Planck Society]]
| date = [[2006-01-18]]
}}

* {{cite journal

| author = Kurzweil, Raymond
| authorlink = Raymond Kurzweil
| year = 2006–07
| title = Nanotech Could Give Global Warming a Big Chill
| journal = Forbes / Wolfe Nanotech Report
| volume = 5 | issue = 7
| url = http://www.qsinano.com/pdf/ForbesWolfe_NanotechReport_July2006.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
}}

* {{cite journal

| title = The effect of increasing solar activity on the Sun's total and open magnetic flux during multiple cycles: Implications for solar forcing of climate
| last = Lean | first = Judith L.
| coauthors = Y.M. Wang, N.R. Sheeley
| year = 2002–12
| journal = [[Geophysical Research Letters]]
| volume = 29 | issue = 24 |
| url = http://adsabs.harvard.edu/abs/2002GeoRL..29x..77L
| doi = 10.1029/2002GL015880
}}

* {{cite book

| last = Lerner | first = K. Lee
| coauthors = Brenda Wilmoth Lerner
| title = Environmental issues : essential primary sources.
| publisher = [[Thomson Gale]]
| date = [[2006-07-26]]
| isbn = 1414406258
}}

* {{cite journal

| last = McLaughlin | first = Joseph B.
| coauthors = Angelo DePaola, Cheryl A. Bopp, Karen A. Martinek, Nancy P. Napolilli, Christine G. Allison, Shelley L. Murray, Eric C. Thompson, Michele M. Bird, John P. Middaugh
| title = Outbreak of Vibrio parahaemolyticus gastroenteritis associated with Alaskan oysters
| journal = [[New England Journal of Medicine]]
| volume = 353 | issue = 14 | pages = 1463–1470
| publisher = New England Medical Society
| date = [[2005-10-06]]
| url = http://content.nejm.org/cgi/content/abstract/353/14/1463
}}''(online version requires registration)''

* {{cite journal

| last = Muscheler, Raimund
| coauthors = Fortunat Joos, Simon A. Müller, Ian Snowball
| date = [[2005-07-28]]
| title = Climate: How unusual is today's solar activity?
| journal = [[Nature (journal)|Nature]]
| volume = 436 | issue = 7012 | pages = 1084–1087
| url = http://www.cgd.ucar.edu/ccr/raimund/publications/Muscheler_et_al_Nature2005.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi = 10.1038/nature04045
}}

* {{cite journal

| last = Oerlemans | first = J.
| date = [[2005-04-29]]
| title = Extracting a Climate Signal from 169 Glacier Records
| journal = [[Science (journal)|Science]]
| volume = 308 | issue = 5722 | pages = 675–677
| url=http://www.cosis.net/abstracts/EGU05/04572/EGU05-J-04572.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi = 10.1126/science.1107046
}}

* {{cite journal

| last = Oreskes | first = Naomi
| authorlink=Naomi Oreskes
| date = [[2004-12-03]]
| title = Beyond the Ivory Tower: The Scientific Consensus on Climate Change
| journal = [[Science (journal)|Science]]
| volume = 306 | issue = 5702 | pages = 1686
| url = http://www.sciencemag.org/cgi/reprint/306/5702/1686.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi = 10.1126/science.1103618
}}

* {{cite journal

| last = Purse | first = Bethan V.
| coauthors = Philip S. Mellor, David J. Rogers, Alan R. Samuel, Peter P. C. Mertens, Matthew Baylis
| title = Climate change and the recent emergence of bluetongue in Europe
| journal = [[Nature Reviews Microbiology]]
| volume = 3 | issue = 2 | pages = 171–181
| date = February 2005
| doi = 10.1038/nrmicro1090
| url=http://www.nature.com/nrmicro/journal/v3/n2/abs/nrmicro1090_fs.html
}}

* {{cite news

| last = Revkin | first = Andrew C
| date = [[2005-11-05]]
| title = Rise in Gases Unmatched by a History in Ancient Ice
| publisher = [[The New York Times]]
| url = http://www.nytimes.com/2005/11/25/science/earth/25core.html?ei=5090&en=d5078e33050b2b0c&ex=1290574800&adxnnl=1&partner=rssuserland&emc=rss
}}

* {{cite book

| last = Ruddiman | first = William F.
| authorlink=William Ruddiman
| date = [[2005-12-15]]
| title = Earth's Climate Past and Future
| location = New York
| publisher = [[Princeton University Press]]
| isbn = 0-7167-3741-8
| url = http://www.whfreeman.com/ruddiman/
}}

* {{cite book

| last = Ruddiman | first = William F.
| authorlink=William Ruddiman
| date = [[2005-08-01]]
| title = Plows, Plagues, and Petroleum: How Humans Took Control of Climate
| location = New Jersey
| publisher = [[Princeton University Press]]
| isbn = 0-691-12164-8
}}

* {{cite journal

| last = Solanki | first = Sami K.
| authorlink=Sami Solanki
| coauthors = I.G. Usoskin, B. Kromer, M. Schussler, J. Beer
| date = [[2004-10-23]]
| title = Unusual activity of the Sun during recent decades compared to the previous 11,000 years.
| journal = [[Nature (journal)|Nature]]
| volume = 431 | pages = 1084–1087
| url = http://cc.oulu.fi/%7Eusoskin/personal/nature02995.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi = 10.1038/nature02995
}}

* {{cite journal

| last = Solanki | first = Sami K.
| authorlink=Sami Solanki
| coauthors = I. G. Usoskin, B. Kromer, M. Schüssler, J. Beer
| date = [[2005-07-28]]
| title = Climate: How unusual is today's solar activity? (Reply)
| journal = [[Nature (journal)|Nature]]
| volume = 436
| pages = E4-E5
| url = http://cc.oulu.fi/%7Eusoskin/personal/sola_nature05.pdf
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
| doi = 10.1038/nature04046
}}

* {{cite journal

| last = Sowers | first = Todd
| date = [[2006-02-10]]
| journal = Science
| volume = 311 | issue = 5762 | pages = 838–840
| title = Late Quaternary Atmospheric CH<sub>4</sub> Isotope Record Suggests Marine Clathrates Are Stable
| doi = 10.1126/science.1121235
}}

* {{cite journal

| last = Svensmark | first = Henrik
| authorlink=Henrik Svensmark
| coauthors = Jens Olaf P. Pedersen, Nigel D. Marsh, Martin B. Enghoff, Ulrik I. Uuggerhøj
| year = [[2007-02-08]]
| title = Experimental evidence for the role of ions in particle nucleation under atmospheric conditions
| journal = [[Proceedings of the Royal Society]] A
| volume = 463 | issue = 2078 | pages = 385–396
| publisher = FirstCite Early Online Publishing
| doi = 10.1098/rspa.2006.1773
}}''(online version requires registration)''

* {{cite journal

| last = Walter | first = K. M.
| coauthors = S. A. Zimov, Jeff P. Chanton, D. Verbyla, [[F. Stuart Chapin III|F. S. Chapin]]
| date = [[2006-09-07]]
| title = Methane bubbling from Siberian thaw lakes as a positive feedback to climate warming
| journal = [[Nature (journal)|Nature]]
| volume = 443 | issue = 7107 | pages = 71–75
| doi = 10.1038/nature05040
}}

* {{cite journal


| last = Wang | first = Y.-M.
* Association of British Insurers (2005-06). Financial Risks of Climate Change (PDF).
| coauthors = J.L. Lean, N.R. Sheeley
* Barnett, Tim P.; J. C. Adam, D. P. Lettenmaier (2005-11-17). "Potential impacts of a warming climate on water availability in snow-dominated regions". Nature 438 (7066): 303–309. doi:10.1038/nature04141.
| date = [[2005-05-20]]
* Behrenfeld, Michael J.; Robert T. O'Malley, David A. Siegel, Charles R. McClain, Jorge L. Sarmiento, Gene C. Feldman, Allen G. Milligan, Paul G. Falkowski, Ricardo M. Letelier, Emanuel S. Boss (2006-12-07). "Climate-driven trends in contemporary ocean productivity" (PDF). Nature 444 (7120): 752–755. doi:10.1038/nature05317.
| title = Modeling the sun's magnetic field and irradiance since 1713
* Choi, Onelack; Ann Fisher (May 2005). "The Impacts of Socioeconomic Development and Climate Change on Severe Weather Catastrophe Losses: Mid-Atlantic Region (MAR) and the U.S.". Climate Change 58 (1–2): 149–170. doi:10.1023/A:1023459216609.
| journal = [[Astrophysical Journal]]
* Dyurgerov, Mark B.; Mark F. Meier (2005). Glaciers and the Changing Earth System: a 2004 Snapshot (PDF), Institute of Arctic and Alpine Research Occasional Paper #58. ISSN 0069-6145.
| volume = 625 | pages = 522–538
*Emanuel, Kerry A. (2005-08-04). "Increasing destructiveness of tropical cyclones over the past 30 years." (PDF). Nature 436 (7051): 686–688. doi:10.1038/nature03906.
| url = http://climatesci.colorado.edu/publications/pdf/Wang_2005.pdf
*Hansen, James; Larissa Nazarenko, Reto Ruedy, Makiko Sato, Josh Willis, Anthony Del Genio, Dorothy Koch, Andrew Lacis, Ken Lo, Surabi Menon, Tica Novakov, Judith Perlwitz, Gary Russell, Gavin A. Schmidt, Nicholas Tausnev (2005-06-03). "Earth's Energy Imbalance: Confirmation and Implications" (PDF). Science 308 (5727): 1431–1435. doi:10.1126/science.1110252.
| format = [[Portable Document Format|PDF]]
*Hinrichs, Kai-Uwe; Laura R. Hmelo, Sean P. Sylva (2003-02-21). "Molecular Fossil Record of Elevated Methane Levels in Late Pleistocene Coastal Waters". Science 299 (5610): 1214–1217. doi:10.1126/science.1079601.
| doi = 10.1086/429689
*Hirsch, Tim. "Plants revealed as methane source", BBC, 2006-01-11.
}}</div>
*Hoyt, Douglas V.; Kenneth H. Schatten (1993–11). "A discussion of plausible solar irradiance variations, 1700–1992". Journal of Geophysical Research 98 (A11): 18,895–18,906.
*Kenneth, James P.; Kevin G. Cannariato, Ingrid L. Hendy, Richard J. Behl (2003-02-14). Methane Hydrates in Quaternary Climate Change: The Clathrate Gun Hypothesis. American Geophysical Union.
*Keppler, Frank; Marc Brass, Jack Hamilton, Thomas Röckmann. "Global Warming - The Blame Is not with the Plants", Max Planck Society, 2006-01-18.
*Kurzweil, Raymond (2006–07). "Nanotech Could Give Global Warming a Big Chill" (PDF). Forbes / Wolfe Nanotech Report 5 (7).
*Lean, Judith L.; Y.M. Wang, N.R. Sheeley (2002–12). "The effect of increasing solar activity on the Sun's total and open magnetic flux during multiple cycles: Implications for solar forcing of climate". Geophysical Research Letters 29 (24). doi:10.1029/2002GL015880.
*Lerner, K. Lee; Brenda Wilmoth Lerner (2006-07-26). Environmental issues : essential primary sources.. Thomson Gale. ISBN 1414406258.
*McLaughlin, Joseph B.; Angelo DePaola, Cheryl A. Bopp, Karen A. Martinek, Nancy P. Napolilli, Christine G. Allison, Shelley L. Murray, Eric C. Thompson, Michele M. Bird, John P. Middaugh (2005-10-06). "Outbreak of Vibrio parahaemolyticus gastroenteritis associated with Alaskan oysters". New England Journal of Medicine 353 (14): 1463–1470. New England Medical Society.(online version requires registration)
*Muscheler, Raimund; Fortunat Joos, Simon A. Müller, Ian Snowball (2005-07-28). "Climate: How unusual is today's solar activity?" (PDF). Nature 436 (7012): 1084–1087. doi:10.1038/nature04045.
*Oerlemans, J. (2005-04-29). "Extracting a Climate Signal from 169 Glacier Records" (PDF). Science 308 (5722): 675–677. doi:10.1126/science.1107046.
*Oreskes, Naomi (2004-12-03). "Beyond the Ivory Tower: The Scientific Consensus on Climate Change" (PDF). Science 306 (5702): 1686. doi:10.1126/science.1103618.
*Purse, Bethan V.; Philip S. Mellor, David J. Rogers, Alan R. Samuel, Peter P. C. Mertens, Matthew Baylis (February 2005). "Climate change and the recent emergence of bluetongue in Europe". Nature Reviews Microbiology 3 (2): 171–181. doi:10.1038/nrmicro1090.
*Revkin, Andrew C. "Rise in Gases Unmatched by a History in Ancient Ice", The New York Times, 2005-11-05.
*Ruddiman, William F. (2005-12-15). Earth's Climate Past and Future. New York: Princeton University Press. ISBN 0-7167-3741-8.
*Ruddiman, William F. (2005-08-01). Plows, Plagues, and Petroleum: How Humans Took Control of Climate. New Jersey: Princeton University Press. ISBN 0-691-12164-8.
*Solanki, Sami K.; I.G. Usoskin, B. Kromer, M. Schussler, J. Beer (2004-10-23). "Unusual activity of the Sun during recent decades compared to the previous 11,000 years." (PDF). Nature 431: 1084–1087. doi:10.1038/nature02995.
*Solanki, Sami K.; I. G. Usoskin, B. Kromer, M. Schüssler, J. Beer (2005-07-28). "Climate: How unusual is today's solar activity? (Reply)" (PDF). Nature 436: E4-E5. doi:10.1038/nature04046.
*Sowers, Todd (2006-02-10). "Late Quaternary Atmospheric CH4 Isotope Record Suggests Marine Clathrates Are Stable". Science 311 (5762): 838–840. doi:10.1126/science.1121235.
*Svensmark, Henrik; Jens Olaf P. Pedersen, Nigel D. Marsh, Martin B. Enghoff, Ulrik I. Uuggerhøj (2007-02-08). "Experimental evidence for the role of ions in particle nucleation under atmospheric conditions". Proceedings of the Royal Society A 463 (2078): 385–396. FirstCite Early Online Publishing. doi:10.1098/rspa.2006.1773.(online version requires registration)
*Walter, K. M.; S. A. Zimov, Jeff P. Chanton, D. Verbyla, F. S. Chapin (2006-09-07). "Methane bubbling from Siberian thaw lakes as a positive feedback to climate warming". Nature 443 (7107): 71–75. doi:10.1038/nature05040.
*Wang, Y.-M.; J.L. Lean, N.R. Sheeley (2005-05-20). "Modeling the sun's magnetic field and irradiance since 1713" (PDF). Astrophysical Journal 625: 522–538. doi:10.1086/429689.
== แหล่งข้อมูลภายนอก ==
== แหล่งข้อมูลภายนอก ==


=== ด้านวิทยาศาสตร์ ===
=== ด้านวิทยาศาสตร์ ===
*Intergovernmental Panel on Climate Change and UN Climate Panel Report's Key Findings.
* [http://www.ipcc.ch Intergovernmental Panel on Climate Change] and [http://www.planetark.com/dailynewsstory.cfm/newsid/44456/story.htm UN Climate Panel Report's Key Findings].
*Nature Reports Climate Change
* [http://www.nature.com/climate/index.html Nature Reports Climate Change]
*The UK Met Office Hadley Centre site
* [http://www.metoffice.gov.uk/research/hadleycentre/index.html The UK Met Office Hadley Centre site]
*NOAA's Global Warming FAQ
* [http://www.ncdc.noaa.gov/oa/climate/globalwarming.html#INTRO NOAA's Global Warming FAQ]
*Outgoing Longwave Radiation pentad mean – NOAA Climate Prediction Center
* [http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/precip/CWlink/climatology/olr/olrloop.gif Outgoing Longwave Radiation pentad mean] [http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/precip/CWlink/climatology/ NOAA Climate Prediction Center]
*Discovery of Global Warming – An extensive introduction to the topic and the history of its discovery, written by Spencer R. Weart
* [http://www.aip.org/history/climate Discovery of Global Warming] – An extensive introduction to the topic and the history of its discovery, written by [[Spencer R. Weart]]
*Caution urged on climate 'risks'
* [http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/6460635.stm Caution urged on climate 'risks']
*NASA Finds Sun-Climate Connection in Old Nile Records
* [http://www.jpl.nasa.gov/news/features.cfm?feature=1319 NASA Finds Sun-Climate Connection in Old Nile Records]
*News in Science - Night flights are worse for global warming
* [http://www.abc.net.au/science/news/stories/s1663637.htm News in Science - Night flights are worse for global warming]


=== ด้านการศึกษา ===
=== ด้านการศึกษา ===
* [http://green.nationalgeographic.com/environment/global-warming/gw-overview.html What Is Global Warming?] – Shockwave presentation from [[National Geographic]]
*Global warming at HowStuffWorks
* [http://edgcm.columbia.edu/ The EdGCM (Educational Global Climate Modelling) Project] – A free research-quality simulation for students, educators, and scientists alike, with a user-friendly interface that runs on desktop computers
*What Is Global Warming? – Shockwave presentation from National Geographic
* [http://pm-esip.msfc.nasa.gov/amsutemps/ Daily global temperatures and trends from satellites] – Interactive graphics from [[NASA]]
*The EdGCM (Educational Global Climate Modelling) Project – A free research-quality simulation for students, educators, and scientists alike, with a user-friendly interface that runs on desktop computers
* [http://www.pewclimate.org/ The Pew Center on global climate change]
*Daily global temperatures and trends from satellites – Interactive graphics from NASA
* [http://osulibrary.oregonstate.edu/specialcollections/events/2007paulingconference/video-s3-4-washington.html Video] of a talk by [[Warren Washington]] titled "The Evolution of Global Warming Science: From Ideas to Scientific Facts"


=== ภาครัฐ ===
=== ภาครัฐ ===
*European Union Web site about global warming.
* [http://www.climatechange.eu.com/ European Union Web site about global warming].
*Newest reports on U.S. EPA Web site
* [http://yosemite.epa.gov/oar/globalwarming.nsf/content/newsandeventsScienceandPolicyNews.html Newest reports on U.S. EPA Web site]


==== อื่นๆ ====
==== อื่นๆ ====
บรรทัด 258: บรรทัด 567:
* [http://www.nst.or.th/article/article143/article48405.html สภาวะโลกร้อน] จากสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย
* [http://www.nst.or.th/article/article143/article48405.html สภาวะโลกร้อน] จากสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย
* [http://www.ru.ac.th/climate-change/index.htm เว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับประเทศไทย] คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
* [http://www.ru.ac.th/climate-change/index.htm เว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับประเทศไทย] คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
*Science and Technology Sources on the Internet – Extensive commented list of Internet resources
* [http://www.istl.org/01-fall/internet.html Science and Technology Sources on the Internet] – Extensive commented list of Internet resources
*Union of Concerned Scientists Global Warming page
* [http://www.ucsusa.org/global_warming/ Union of Concerned Scientists Global Warming page]
*Watch and read 'Tipping Point', Australian science documentary about effects of global warming on rare, common, and endangered wildlife
* [http://www.abc.net.au/catalyst/stories/s1647466.htm Watch and read 'Tipping Point'], Australian science documentary about effects of global warming on rare, common, and endangered wildlife
*IPS Inter Press Service – Independent news on global warming and its consequences.
* [http://www.ipsnews.net/new_focus/kyoto/index.asp IPS Inter Press Service] – Independent news on global warming and its consequences.
*Gateway to the UN System's Work on Climate Change
* [http://www.un.org/climatechange Gateway to the UN System's Work on Climate Change]





รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:53, 20 มกราคม 2551

ค่าผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403-2549เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504-2533

ปรากฏการณ์โลกร้อน (Global warming) หมายถึงการเพิ่มของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกของอากาศที่ระดับใกล้ผิวโลกและของน้ำในมหาสมุทรในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมาและรวมถึงการพยากรณ์หรือคาดการณ์ในการเพิ่มที่ต่อเนื่อง

อุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยของอากาศที่ใกล้ผิวดินเพิ่ม 0.74 ± 0.18 °ซ ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมานับถึง พ.ศ. 2548[1] คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change-IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก[1] ปรากฏการณ์ธรรมชาติเช่นการผันแปรในการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟอาจมีผลเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และผลด้านการลดอุณหภูมินับแต่ปี 2490 เป็นต้นมา[2][3] ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติของชาติสำคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่างๆ[4] แม้จะมีนักวิทยาศาสตร์รายบุคคลบางคนมีความเห็นโต้แย้งในข้อสรุปของ IPPC อยู่บ้าง[5] แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทำงานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้[6][7]

แบบจำลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 °ซ ในช่วงคริสตศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2543-2643)[1] ช่วงของค่าตัวเลขได้จากการการจำลองสถานการณ์แบบต่างๆ ของสภาพไวของภูมิอากาศ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะพุ่งจุดไปที่ระยะเวลาถึง พ.ศ. 2643 แต่การร้อนขึ้นและระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นจะยังคงเพิ่มต่อเนื่องไปอีกมากกว่าสหัสวรรษแม้ระดับของแก๊สเรือนกระจกจะอยู่ในภาวะสเถียรแล้วก็ตาม ความช้าในความสเถียรของอุณหภูมิและระดับน้ำทะเลเกิดจากความจุความร้อนที่สูงของน้ำในมหาสมุทร[1]

การเพิ่มอุณหภูมิของโลกจะทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นและคาดว่าจะเป็นเหตุให้เกิดการผันแปรที่รุนแรงของภูมิอากาศและเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณและความถี่ของหยาดน้ำฟ้า ผลกระทบของโลกร้อนอื่นๆ รวมทั้งผลิตผลทางเกษตรและการเพิ่มช่วงกว้างของตัวนำเชื้อโรคต่างๆ อีกด้วย

ความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อื่นๆ รวมถึงปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะเพิ่มในอนาคต ผลของการร้อนขึ้นที่มีต่อแต่ละภูมิภาคของทั้งโลกว่าจะมีความแตกต่างกันอย่างไร การโต้เถียงกันทางการเมืองและสาธารณชนทั้งโลกที่เกี่ยวกับมาตรการ ถ้ามี ว่าควรเป็นอย่างไรจึงจะลดหรือย้อนกลับการร้อนขึ้นของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดว่าจะต้องเกิดขึ้น รัฐบาลของประเทศต่างๆ เกือบทั้งหมดได้ลงนามและให้สัตยาบรรณในพิธีสารเกียวโตซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกและประเทศต่างๆ นอกจากสหรัฐฯ ก็ยังมีการอภิปรายถกเถียงในเรื่องผลกระทบและความไม่แน่นอนของปรากฏการณ์โลกร้อนนี้น้อยมาก

ศัพทวิทยา

คำว่า “ปรากฏการณ์โลกร้อน” เป็นตัวอย่างเฉพาะของการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ซึ่งโยงไปถึงปรากฏการณ์โลกร้อนด้วย ในการใช้คำหรือวลีนี้ โดยทั่วไปอ้างถึงอุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้และที่เกี่ยวพันธ์กับอิทธิพลของมนุษย์[8] อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change -UNFCCC) ใช้คำว่า “การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ”[9] สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ “ปรากฏการณ์โลกร้อนจากกิจกรรมมนุษย์” (anthropogenic global warming) ในบางครั้งใช้เมื่อมีการเน้นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์

สาเหตุ

ไฟล์:Carbon Dioxide 400kyr-2.png
คาร์บอนไดออกไซด์ในช่วงระหว่างเมื่อ 400,000 ปีก่อน และการเพิ่มโดยรวดเร็วนับตั้งแต่ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมาได้เปลี่ยนวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ที่รียกว่า “วัฏจักรมิลานโควิทช์” นั้น เชื่อกันว่าเป็นตัวกำกับวงรอบ 100,000 ปีของวัฎจักรยุคน้ำแข็ง
การเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศเมื่อเร็วๆ นี้ การวัดคาร์บอนไดออกไซด์รายเดือนแสดงให้เห็นการแกว่งไกวเล็กน้อยตามฤดูกาลในช่วงระหว่างปีที่มีแนวโน้มสูงขึ้น จำนวนการขึ้นสูงสุดของแต่ละปีเกิดขึ้นในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิของซีกโลกเหนือและลดลงในช่วงการเพาะปลูกของโลกซีกเหนือซึ่งพืชที่ปลูกดึงคาร์บอนไดออกไซด์บางส่วนออกจากบรรยากาศ

ดูบทความหลัก: Attribution of recent climate change and scientific opinion on climate change

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกที่ตอบสนองต่อแรงภายนอกซึ่งรวมถึงการผันแปรของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก (แรงในวงโคจร) การระเบิดของภูเขาไฟและการสะสมของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ รายละเอียดของสาเหตุของการร้อนขึ้นของโลกยังคงเป็นประเด็นการวิจัยที่ยังคึกคักอยู่มาก ความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์(scientific consensus)บ่งชี้ว่าระดับการเพิ่มของแก๊สเรือนกระจกเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์นับเป็นอิทธิพลที่มีความสำคัญ ลักษณะประจำอันนี้มีความชัดเจนมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาตามรายละเอียดของข้อมูลที่มี สมมุติฐานอื่นบางประการที่ได้มาจากมุมมองที่ตรงกันได้ถูกนำไปใช้อธิบายสำหรับการสังเกตเห็นค่าเฉลี่ยกลางของอุณหภูมิโลก สมมุติฐานหนึ่งในนั้นเสนอว่าการร้อนขึ้นอาจเป็นผลของการผันแปรภายในดวงอาทิตย์

ไม่มีผลกระทบที่เกิดจากแรงดังกล่าวเกิดขึ้นโดยฉับพลัน “แรงเฉื่อยของความร้อน” (thermal inertia) ของมหาสมุทรของโลกและการตอบสนองที่ช้าต่อผลกระทบทางอ้อมหมายความว่าปรากฏการณ์โลกร้อนอากาศของโลก ณ ขณะนี้ยังไม่อยู่ในสภาวะสมดุลจากแรงที่กระทำ การศึกษาเพื่อหา “ข้อผูกมัดของภูมิอากาศ” (Climate commitment)บ่งชี้ว่า แม้แก๊สเรือนกระจกจะอยู่ในสภาวะสเถียรในปี พ.ศ. 2543 การ้อนขึ้อีกประมาณ 0.5 °ซ ก็ยังจะคงเกิดขึ้นต่อไป

แก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ

ดูบทความหลัก: ปรากฏการณ์เรือนกระจก

ปรากฏการณ์เรือนกระจกค้นพบโดยโจเซฟ ฟูเรียร์ เมื่อ พ.ศ. 2367 และได้รับการตรวจสอบเชิงปริมาณโดยสวานเต อาร์รีเนียส ในปี พ.ศ. 2439 โดยกระบวนการเกิดขึ้นโดยการดูดซับและการปลดปล่อยรังสีอินฟราเรดโดยแก๊สเรือนกระจกเป็นตัวทำให้บรรยากาศและผิวโลกร้อนขึ้น

การเกิดผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจกดังกล่าวไม่เป็นที่ถกเถียงกันแต่อย่างใด เพราะโดยธรรมชาติแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นนั้นจะมีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิอยู่ที่ 33 °ซ อยู่แล้ว ซึ่งถ้าไม่มี มนุษย์ก็จะอยู่อาศัยไม่ได้ ประเด็นปัญหาจึงอยู่ที่ว่าความแรงของปรากฏการณ์เรือนกระจกจะเปลี่ยนไปอย่างไร เมื่อกิจกรรมของมนุษย์เพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศอย่างไร

ในโลก แก๊สเรือนกระจกหลักคือไอระเหยของน้ำซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้เกิดปรากฏการณ์โลกร้อนมากถึงประมาณ 30-60% (ไม่รวมก้อนเมฆ) คาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวการอีกประมาณ 9-26 % แก๊สมีเทน (CH4) เป็นตัวการ 4-9% และโอโซนอีก 3-7%, หากนับโมเลกุลต่อโมเลกุล แก๊สมีเทนมีผลต่อปรากฏการณ์เรือนกระจกมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์แต่ความเข้มข้นมีน้อยกว่ามาก ดั้งนั้น แรงการแผ่ความร้อนจึงมีสัดส่วนประมาณหนึงในสี่ของคาร์บอนไดออกไซด์ ยังมีแก๊สอื่นอีกที่เกิดตามธรรมชาติ แต่มีปริมาณในปรากฏการณ์เรือนกระจกน้อยมาก แก๊สชนิดหนึ่งดังกล่าวคือ ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ที่กำลังมีปริมาณเพิ่มจากกิจกรรมมนุษย์ เช่นการเกษตรกรรม ความเข้มในบรรยากาศของ CO2 และ CH4 เพิ่มขึ้น 31% และ 149 % ตามลำดับ

นับจากการเริ่มต้นของยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงประมาณ พ.ศ. 2290 (ประมาณปลายรัชสมัยพระบรมโกศฯ) เป็นต้นมา ระดับอุณหภูมิเหล่านี้สูงกว่าอุณหภูมิของโลกที่ขึ้นๆ ลงๆ ในช่วง 650,000 ปีที่ผ่านมาซึ่งเป็นช่วงที่มีข้อมูลที่เชื่อถือได้ที่ได้มากจากแกนน้ำแข็งที่เจาะมาได้ และจากหลักฐานที่ได้แบบไม่ใช่ทางตรงก็ทำให้เชื่อว่าค่าของ CO2 ที่สูงในระดับใกล้เคียงกันดังกล่าวเป็นมาประมาณ 20 ล้านปีมาแล้ว การเผาผลานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์หรือเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel) มีส่วนเพิ่ม CO2 ในบรรยกาศประมาณ 3 ใน 4 ของปริมาณ CO2 จากกิจกรรมมนุษย์ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่ของที่เหลือทั้งหมดเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยเฉพาะการทำลายป่า

ความเข้มของปริมาณ CO2 ที่เจือปนในบรรยการปัจจุบันมีประมาณ 383 ส่วน/ล้านส่วนโดยบริมาตร ประมาณว่าปริมาณ CO2 ในอนาคตจะสูงขึ้นอีกจากการเผาผลาญ[[เชื้อเพลิงฟอสซิล] และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน อัตราการเพิ่มขึ้นอยู่กับความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและการพัฒนาของตัวธรรมชาติเอง แต่อาจขึ้นอยู่กับการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นหลัก รายงานพิเศษว่าด้วยการจำลองการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ (Special Report on Emissions Scenarios)ของ IPCC ได้ให้ช่วงที่กว้างไว้ตั้งแต่ 541 ถึง 970 ส่วน/ล้านส่วนเมื่อถึง พ.ศ. 2643 ปริมาณสำรองของเชื้อเพลิงฟอสซิลยังคงมีเพียงพอเมื่อเลยปี 2643 ถ้ายังคงใช้ถ่านหิน น้ำมันดิน น้ำมันดินในทรายหรือมีเทนก้อน (methane clathratesmethane clathrates –แก๊สมีเทนฝังตัวในผลึกน้ำแข็งในสัดส่วนโมเลกุลมีเทน:โมเลกุลน้ำ = 1: 5.75 เกิดใต้ท้องมหาสมุทรที่ลึกมาก)

การป้อนกลับ

บทความหลัก:Main article: Effects of global warming#Positive feedback effects

ผลของตัวกระทำที่สร้างเกิดแรงในบรรยากาศมีความซับซ้อนตามกระบวนการป้อนกลับหลายแบบ

หนึ่งในผลการป้อนกลับที่เด่นชัดหลายแบบดังกล่าวสัมพันธ์กับการระเหยของน้ำ การกรณีการร้อนขึ้นโดยการเพิ่มของปรากฏการณ์เรือนกระจกที่ยืนยาว เช่นของ CO2 การเริ่มร้อนขึ้นครั้งแรกจะทำให้น้ำระเหยปะปนในบรรยากาศมากขึ้น เนื่องจากไอน้ำเองก็เป็นแก๊สเรือนกระจกด้วยจึงทำให้ความอุ่นเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นการป้อนกลับไปทำให้น้ำระเหยเพิ่มขึ้นอีก เป็นรอบๆ เรื่อยไปดังนี้จนกระทั้งบรรลุความเข้มถึงจุดสมดุลซึ่งผลผลต่อปรากฏการณ์เรือนกระจกมากกว่า CO2 เพียงอย่างเดียว แม้กระบวนการป้อนกลับนี้จะเกี่ยวข้องกับการเพิ่มปริมาณความชื้นสัมบูรณ์ในบรรยากาศ แต่ความชื้นสัมพัทธ์จะยังคงอยู่ในระดับเกือบคงที่และอาจลดลงเล็กน้อยเมื่ออากาศอุ่นขึ้น ผลการป้อนกลับนี้จะเปลี่ยนกลับคืนได้แต่เพียงช้าๆ เนื่องจาก CO2 มีอายุขัยในบรรยกาศ (atmospheric lifetime)ยาวนานมาก

การป้อนกลับเนื่องจากเมฆกำลังอยู่ในระยะดำเนินการวิจัย มองจากทางด้านล่างจะเห็นเมฆกระจายรังสีอินฟราเรดลงสู่พื้นล่าง ซึ่งมีผลเป็นการเพิ่มอุณหภูมิผิวล่าง ในขณะเดียวกัน หากมองทางด้านบน เมฆจะสะท้อนแสงอาทิตย์และกระจายรังสีอินฟราเรดสู่ห้วงอวกาศจึงมีผลเป็นการลดอุณหภูมิ ผลลัพท์ของผลต่างของปรากฏการณ์นี้จะมากน้อยต่างกันอย่างไรขึ้นอยู่กับรายละเอียด เช่น ประเภทและความสูงของเมฆ รายละเอียดเหล่านี้มีความยากมากในการสร้างแบบจำลองภูมิอากาศเนื่องจากก้อนเมฆมีขนาดเล็ก กระจัดกระจายและมีช่องว่างมากระหว่างก้อนมาก อย่างไรก็ดี การป้อนกลับของเมฆมีผลน้อยกว่าการป้อนกลับของไอน้ำในบรรยากาศ และมีผลชัดเจนในแบบจำลองทุกแบบที่นำมาใช้ในรายงานผลการประเมิน IPCC ครั้งที่ 4 (IPCC Fourth Assessment Report.(32))

กระบวนการป้อนกลับที่สำคัญอีกแบบหนึ่งคือการป้อนกลับของอัตราส่วนรังสีสะท้อนจากน้ำแข็ง เมื่ออุณหภูมิของโลกเพิ่ม น้ำแข็งแถบขั้วโลกจะมีอัตราการละลายเพิ่ม ในขณะที่น้ำแข็งละลายผิวดินและผิวน้ำจะถูกเปิดให้เห็น ทั้งผิวดินและผิวน้ำมีอัตราส่วนการสะท้อนรังสีน้อยกว่าน้ำแข็งจึงดูดซับรังสีดวงอาทิตย์ไว้ได้มากกว่า จึงทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นป้อนกลับให้น้ำแข็งละลายมากขึ้นและวงจรนีเกิดต่อเนื่องไปอีกเรื่อยๆ

การป้อนกลับที่ชัดเจนอีกชนิดหนึ่งได้แก่การปลดปล่อน CO2 และ CH4 จากการละลายของชั้นดินเยือกแข็งคงตัว (permafrost) เช่นพรุพีท ยือกแข็ง (frozen peat bogs) ในไซบีเรียที่เป็นกลไกที่เพิ่มการอุ่นขึ้นของบรรยากาศ การปลดปล่อยอย่างมหาศาลของแก๊สมีเทนจาก “มีเทนก้อน” สามารถทำให้อัตราการอุ่นเป็นไปได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งเป็นไปตาม “สมมุติฐานปืนคลาทเรท” (clathrate gun hypothesis)

ขีดความสามารถในการเก็บกักคาร์บอนลดต่ำลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทั้งนี้เนื่องมาจากการลดลงของธาตุอาหารในชั้นเมโสเพลาจิก (mesopelagic zone) ประมาณความลึกที่ 100 ถึง 200 เมตร ที่ทำให้การเจริญเติบโตของไดอะตอมลดลงเนื่องจากการเข้าแทนที่ของไฟโตแหลงตอนที่เล็กกว่าและเก็บกักคาร์บอนในเชิงชีววิทยาได้น้อยกว่า


ตัวแปรสุริยะ (Solar variation)

ตัวแปรสุริยะในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา

ดูบทความหลัก: ตัวแปรสุริยะ

มีรายงานวิจัยหลายชิ้นแนะว่าอาจมีการให้ความสำคัญแก่ดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อปรากฏการณ์โลกร้อนต่ำไป นักวิจัย 2 คนที่มหาวิทยาลัยดุ๊ก คือบรูซ เวสต์ และ นิโคลาสกาเฟทตา ได้ประมาณว่าดวงอาทิตย์อาจส่งผลต่อการเพิ่มอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกมากถึง 45-50% ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2443 – 2543 และประมาณ 25-35% ระหว่าง พ.ศ. 2523 – 2543 รายงานวิจัยของปีเตอร์ สกอตและนักวิจัยอื่นแนะว่าแบบจำลองภูมิอากาศประมาณการเกินจริงเกี่ยวกับผลสัมพัทธ์ของแก๊สเรือนกระจกเมื่อเปรียบเทียบกับแรงจากดวงอาทิตย์ และยังแนะเพิ่มว่าผลกระทบทางเย็นของฝุ่นละอองภูเขาไฟและซัลเฟตในบรรยากาศได้รับการประเมินต่ำไปเช่นกัน กลุ่มนักวิจัยดังกล่าวสรุปว่าแม้จะรวมเอาปัจจัยความไวต่อภูมิอากาศของดวงอาทิตย์มารวมด้วยก็ตาม การร้อนขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางคริสตศตวรรษที่ 20 (ตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ยังนับว่าเป็นผลจากปรากฏการณ์เรือนกระจก

สมมุติฐานที่แตกต่างอีกอันหนึ่งกล่าวว่า การผันแปรของอัตราการปล่อยความร้อนออกของดวงอาทิตย์ (solar output)สู่โลกอาจเพิ่มจากโดยการถูกเติมสารเคมีลงในกลุ่มเมฆจาก รังสีคอสมิกในดาราจักร(galactic cosmic rays) ซึ่งเป็นตัวทำให้เกิดการร้อนขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ และว่าเป็นผลของการกระทำของแรงแม่เหล็กจากดวงอาทิตย์เป็นปัจจัยยิ่งยวดในการหันเหรังสีคอสมิกที่อาจมีอิทธิพลต่อการก่อตัวของนิวเคลียสของเมฆซึ่งมีผลต่อภูมิอากาศ

การพยากรณ์ผลการเพิ่มของ “สุริยกิจ” (solar activity) จะทำให้บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์อุ่นขึ้น แนวโน้มที่สังเกตนี้สังเกตเห็นมาอย่างน้อยตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2505 ได้แก่การเย็นตัวลงของชั้นสตรโตสเฟียร์ช่วงล่าง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพยากรณ์การร้อนขึ้นของปรากฏการณ์เรือนกระจก การลดลงของปริมาณโอโซนในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีอิทธิพลต่อการเย็นลงของบรรยากาศมานานแล้ว แต่การลดที่เกิดขึ้นมากโดยชัดเจนปรากฏให้เห็นตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2515 เป็นต้นมา ตัวแปรสุริยะร่วมกับ กิจกรรมภูเขาไฟ (volcanic activity) อาจมีผลให้เกิดการเพิ่มอุณหภูมิมาตั้งแต่ยุคก่อนอุตสาหกรรมต่อเนื่องมาถึงประมาณ พ.ศ. 2490 แต่ให้ผลทางการลดอุณหภูมิตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2549 ปีเตอร์ ฟูกัลและนักวจัยอื่นจากสหรัฐฯ เยอรมันและสวิสเซอร์แลนด์พบว่าไม่มีการเพิ่มสุทธิของความจ้าขึ้นของดวงอาทิตย์ในรอบหนึ่งพันปีที่ผ่านมา วัฏจักรของดวงอาทิตย์ที่จ้าขึ้นทำให้โลกอุ่นขึ้นเพียง 0.07% ในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา ผลกระทบนี้มีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์โลกร้อนน้อยมากๆ รายงานวิจัยของ ไมค์ ลอควูดและเคลาส์ ฟลอห์ลิชพบว่าไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์โลกร้อนกับการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2528 ไม่ว่าจากตัวแปรสุริยะรับเข้าหรือจากตัวแปรรังจากสีคอสมิก เฮนริก สเวนมาร์ก และไอกิล ฟริอิส-คริสเตนเสน ผู้สนับสนุนสมมุติฐาน “การถูกเติมสารเคมีลงในกลุ่มเมฆจากรังสีคอสมิกในดาราจักร” ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอของลอควูด และ ฟลอห์ลิช


การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (Temperature changes)

ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวโลกในช่วง 2000 ปี ตามการสร้างขึ้นใหม่แบบต่างๆ แต่ละแบบทำให้เรียบขึ้นตามมาตราส่วนทศวรรษ ตัวที่ไม่เรียบของค่ารายปีสำหรับปี พ.ศ. 2547 ใช้วิธีพล็อตที่ต่างกัน

ดูบทความหลัก: การบันทึกอุณหภูมิ (Temperature record)

เมื่อเร็วๆ นี้

อุณหภูมิของโลกทั้งบนแผ่นดินและในมหาสมุทรได้เพิ่มขึ้น 0.75 °ซ เทียบกับช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2403 – 2443 ตาม “การบันทึกอุณหภูมิด้วยเครื่องมือ” (instrumental temperature record)การวัดอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นี้ไม่มีผลมากนักต่อ “ปรากฏการณ์เกาะความร้อน” นับแต่ปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา อุณหภูมิผิวดินได้เพิ่มเร็วขึ้นประมาณ 2 เท่าเมื่อเทียบกับการเพิ่มอุณหภูมิของผิวทะเล (0.25 °ซ ต่อทศวรรษ กับ 0.13 °ซ ต่อทศวรรษ) อุณหภูมิของชั้นบรรยากาศโทรโปสเฟียร์ตอนล่างได้เพิ่มขึ้นระหว่าง 0.12 และ 0.22 °ซ ต่อทศวรรษมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 เช่นกันจากการวัดอุณหภูมิโดยดาวเทียม เชื่อกันว่าอุณหภูมิของโลกค่อนข้างเสถียรมากกว่ามาตั้งแต่ 1 – 2,000 ปีก่อนถึงปี พ.ศ. 2422 โดยอาจมีการขึ้นๆ ลงๆ ตามภูมิภาคบ้าง เช่นในช่วง การร้อนของยุคกลาง (Medieval Warm Period) และ ในยุคน้ำแข็งน้อย (Little Ice Age)

อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรเพิ่มในอัตราที่ช้ากว่าบนแผ่นดินเนื่องจากความจุความร้อนของน้ำที่มากกว่าและจากการสูญเสียความร้อนที่ผิวน้ำจากการระเหยที่เร็วกว่าบนผิวแผ่นดิน เนื่องจากซีกโลกเหนือมีมวลแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้มันจึงร้อนเร็วกว่า และยังมีพื้นที่ที่กว้างขวางที่ปกคลุมโดยหิมะตามฤดูกาลที่มีอัตราการสะท้อนรังสีที่ป้อนกลับได้มากกว่า แม้แก๊สเรือนกระจกจะถูกปลดปล่อยในซีกโลกเหนือมากกว่าซีกโลกใต้ แต่ก็ไม่มีผลต่อความไม่ได้ดุลของการร้อนขึ้น เนื่องจากแก๊สกระจายรวมกันได้รวดเร็วในบรรยากาศระหว่างสองซีกโลก

โดยอาศัยการประมาณจากข้อมูลของ “สถาบันกอดดาร์ดเพื่อการศึกษาห้วงอวกาศ" (Goddard Institute for Space Studies) ของนาซา โดยการใช้เครื่องมือวัดแบบต่างๆ ที่เชื่อถือได้และมีใช้กันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2400 พบว่าปี พ.ศ. 2548 เป็นปีที่ร้อนที่สุด ร้อนกว่าสถิติร้อนสุดที่บันทึกได้เมื่อ พ.ศ. 2541 เล็กน้อย แต่การประมาณที่ทำโดยองค์การอุตุนิยมโลก (World Meteorological Organization) และหน่วยวิจัยภูมิอากาศสรุปว่า พ.ศ. 2548 ร้อนรองลงมาจาก พ.ศ. 2541

การปลดปล่อยมลพิษจากการกระทำของของมนุษย์ที่เด่นชัดอีกอย่างหนึ่งได้แก่ “ละอองลอย" ซัลเฟต ซึ่งสามารถเพิ่มผลการลดอุณหภูมิโดยการสะท้อนแสงอาทิตย์กลับออกไปจากโลก สังเกตได้จากการบันทึกอุณหภูมิที่เย็นลงในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) แม้การเย็นนี้ลงอาจเป็นส่วนหนึ่งของการผันแปรของธรรมชาติ เจมส์ เฮนสันและคณะได้เสนอว่าผลของการเผาใหม้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์คือ CO2 และละอองลอยจะหักล้างกันเป็นส่วนใหญ่ ทำให้การร้อนขึ้นในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาเกิดจากแก๊สเรือนกระจกที่ไม่ใช่ CO2

นักอุตุนิยมดึกดำบรรพ์วิทยา (Paleoclimatologist) วิลเลียม รัดดิแมนได้โต้แย้งว่าอิทธิพลของมนุษย์ที่มีต่อภูมิอากาศโลกเริ่มมาตั้งแต่ประมาณ 8,000 ปีมาแล้ว เริ่มด้วยการเปิดป่าเพื่อทำกินทางเกษตร และเมื่อ 5,000 ปีมาแล้วด้วยการทำการชลประทานเพื่อปลูกข้าวในเอเซีย การแปลความหมายของรูดิแมนจากบันทึกทางประวัติศาสตร์ขัดแย้งกับข้อมูลแก๊สมีเทน

ตัวแปรภูมิอากาศก่อนยุคมนุษย์

เส้นโค้งของอุณหภูมิที่สร้างขึ้นใหม่ ณ ที่สองจุดในแอนตาร์กติกและบันทึกการผันแปรของโลกในก้อนภูเขาน้ำแข็ง วันที่ของเวลาปัจจุบันปรากฏที่ด้านล่างซ้ายของกราฟ

แหล่งข้อมูลอื่น: อุตุนิยมดึกดำบรรพวิทยา (Paleoclimatology)

ดูเพิ่ม: โลกก้อนหิมะ (Snowball Earth)

โลกได้ประสบกับการร้อนและเย็นมาแล้วหลายครั้งในอดีต แท่งแกนน้ำแข็งแอนตาร์กติกเมื่อเร็วๆนี้ของ EPICA ครอบคลุมช่วงเวลาไว้ 800,000 ปี รวมวัฏจักรยุคน้ำแข็งได้ 8 ครั้ง ซึ่งนับเวลาโดยการใช้ตัวแปรวงโคจรของโลกและช่วงอบอุ่นระหว่างยุคน้ำแข็งมาเปรียบเทียบกับอุณหภูมิในปัจจุบัน

การเพิ่มอย่างรวดเร็วของแก๊สเรือนกระจกเพิ่มการร้อนขึ้นในยุคจูราสสิกตอนต้น (ประมาณ 180 ล้านปีก่อน) โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงขึ้น 5 °ซ งานวิจัยโดยมหาวิทยาลัยเปิดบ่งชี้ว่าการร้อนขึ้นเกิดทำให้อัตราการกร่อนของหินเพิ่มมากถึง 400% การกร่อนของหินในลักษณะนี้ทำให้เกิดการกักคาร์บอนไว้ในคาลไซท์และโดโลไมท์ไว้ได้มาก ระดับของ CO2 ได้ตกลงสู่ระดับปกติมาได้อีกประมาณ 150,000 ปี

การปลดปล่อยมีเทนโดยกระทันหันจากสารประกอบคลาเทรท (clathrate gun hypothesis) ได้กลายเป็นสมมุติฐานว่าเป็นทางต้นเหตุและผลของการเพิ่มอุณหภูมิโลกในระยะเวลาที่นานมากมาแล้ว รวมทั้ง “เหตุการณ์สูญพันธุ์เพอเมียน-ไทรอาสสิก” (Permian-Triassic extinction event –ประมาณ 251 ล้านปีมาแล้ว) รวมทั้งการร้อนมากสุดพาเลโอซีน-อีโอซีน (Paleocene-Eocene Thermal Maximum –ประมาณ 55 ล้านปีมาแล้ว)


แบบจำลองภูมิอากาศ (Climate models)

การคำนวณปรากฏการณ์โลกร้อนที่ทำขึ้นก่อน พ.ศ. 2544 จากแบบจำลองต่างๆ ที่หลากหลายแบบภายใต้เหตุการณ์จำลองการปลดปล่อย A2 ของ SRES มีสมมุติฐานว่าไม่มีมาตรการลดการปลดปล่อย
การกระจายการร้อนของผิวโลกทางภูมิศาสตร์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544 – 2553) คำนวณโดยแบบจำลองภูมิอากาศ HadCM3 โดยตั้งสมมุติฐานสถานการณ์จำลองว่าไม่ทำอะไร ปล่อยให้การเติบโตทางเศรษฐกิจและการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกเป็นไปตามปกติ ในภาพนี้ จะเห็นการเพิ่มอุณหภูมิจะอยู่ที่ 3.0 °ซ

ดูบทความหลัก: แบบจำลองภูมิอากาศโลก (Global climate model)

นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาปรากฏการณ์โลกร้อนด้วยแบบจำลองคอมพิวเตอร์สำหรับภูมิอากาศ แบบจำลองนี้ใช้หลักการพื้นฐานของพลศาสตร์ของไหล การถ่ายโอนการแผ่รังสี (radiative transfer)และกระบวนการอื่นๆ โดยต้องทำให้ง่ายขึ้นเนื่องจากขีดจำกัดของกำลังคองคอมพิวเตอร์และความซับซ้อนของระบบภูมิอากาศ แบบจำลองนี้พยากรณ์ได้ว่าผลของการเพิ่มแก๊สเรือนกระจกเพิ่มความร้อนแก่ภูมิอากาศจริง แต่อย่างไรก็ดี เมื่อใช้สมมุติฐานเดียวกันนี้กับอัตราแก๊สเรือนกระจกในอนาคต ก็ยังปรากฏให้เห็นถึงอัตราความไวของภูมิอากาศ (climate sensitivity) ที่มีช่วงกว้างมากอยู่

เมื่อรวมความไม่แน่นอนของการเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในอนาคตเข้ากับแบบจำลองภูมิอากาศแล้ว IPCC คาดว่าเมื่อสิ้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ( พ.ศ. 2543) อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มระหว่าง 1.1 °ซ ถึง 6.4 °ซ เทียบได้กับการเพิ่มระหว่าง พ.ศ. 25232442 ได้มีการใช้แบบจำลองมาช่วยในการสืบค้นหา “สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเมื่อเร็วๆ นี้” โดยการเปรียบเทียบผลการคาดคะเนที่ได้จากแบบจำลองกับผลการสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามธรรมชาติและที่เปลี่ยนเนื่อมาจากกิจกรรมมนุษย์

แบบจำลองภูมิอากาศในปัจจุบันให้ผลค่อนข้างดีจากการเปรียบเทียบกับการสังเกตการณ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา แต่ก็ไม่สามารถจำลองรูปแบบต่างๆ ของภูมิอากาศได้หมด แบบจำลองเหล่านี้ไม่ให้ลักษณะประจำที่กระจ่างชัดในความผันแปรของภูมิอากาศที่เกิดขึ้นระหว่างประมาณ พ.ศ. 2453 – 2488 ทั้งในตามธรรมชาติและจากฝีมือมนุษย์ อย่างไรก็ดี แบบจำลองก็ได้แนะให้เห็นได้ว่า การร้อนขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 เป็นต้นมาเกิดจากแก๊สเรือนกระจกที่มาจากกิจกรรมมนุษย์

แบบลองภูมิอากาศโลกแบบต่างๆ เกือบทั้งหมด เมื่อนำมาใช้เพื่อแสดงผลการคาดคะเนภูมิอากาศในอนาคตจะถูกบังคับให้ใส่เหตุการณ์จำลองแก๊สเรือนกระจกเข้าไปด้วย แบบจำลองแบบทั่วไปแบบหนึ่งเป็นดังใน รายงานพิเศษว่าด้วยเหตุการณ์จำลองการปลดปล่อย (SRES) ของ IPCC (Special Report on Emissions Scenarios) ที่มีความเฉพาะขึ้นมาบ้าง แบบจำลองอาจทำโดยการรวมเอาการจำลองวัฏจักรของคาร์บอนเข้ามาด้วย ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงผลป้อนกลับที่ดี แม้การตอบสนองจะไม่ค่อยแน่นอน (ภายใต้สถานการณ์จำลอง A2 SRES ให้การตอบสนองที่ผันแปรของ CO2 ระหว่าง 20 และ 200 ppm) การศึกษาแบบสังเกตการณ์บางชิ้นก็แสดงการป้อนกลับออกมาค่อนข้างดี

การมีเมฆนับเป็นต้นเหตุหลักของความไม่แน่นอนในแบบจำลองที่ใช้ในปัจจุบันแม้จะมีความก้าวหน้าในการแก้ปัญหานี้มากอยู่แล้วก็ตาม ขณะนี้ยังคงมีการอภิปรายถกเถียงกันอยู่ว่าแบบจำลองภูมิอากาศได้ละเลยผลป้อนกลับทางอ้อมที่สำคัญและผลป้อนกลับของตัวแปรสุริยะไปหรือไม่

ลักษณะประจำและผลที่คาดหวัง

ดูบทความหลัก: ผลของปรากฏการณ์โลกร้อน (Effects of global warming)

บันทึกกระจายเบาบางเหล่านี้แสดงให้เห็นการถดถอยภูเขาน้ำแข็ง ที่กำลังเป็นมาตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2450 ประมาณปี พ.ศ. 24952502 การวัดที่ได้เริ่มขึ้นในช่วงช่วยให้สามารถเฝ้ามองความสมดุลก้อนภูเขาน้ำแข็งได้ รายงานถึง WGMS และ NSIDC

แม้จะเป็นการยากในการเชื่อมต่อเหตุการณ์ของลมฟ้าอากาศให้เข้ากับปรากฏการณ์โลกร้อนก็ตาม การเพิ่มอุณหภูมิของโลกอาจมีผลที่เป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่กว้างขึ้น รวมทั้งการถดถอยของภูเขาน้ำแข็ง(glacial retreat) การลดขนาดของอาร์กติก (Arctic shrinkage) และระดับทะเลของโลกสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงในปริมาณและรูปแบบของหยาดน้ำฟ้าอาจทำให้เกิดน้ำท่วมและความแห้งแล้ง รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงความถี่และความรุนแรงของลมฟ้าอากาศสุดโต่ง (extreme weather)ที่เกิดบ่อยครั้งขึ้น ผลแบบอื่นๆ ก็ยังมีอีกเช่นการเปลี่ยนแปลงผลิตผลทางเกษตร เส้นทางการค้าใหม่ การลดประมาณน้ำลำธารในฤดูร้อน การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตบางชนิดและการเพิ่มของพาหะนำเชื้อโรค

ผลบางอย่างทั้งในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและชีวิตของมนุษย์ อย่างน้อยก็มีส่วนอยู่แล้วการการเพิ่มอุณหภูมิโลก รายงานฉบับหนึ่งของ IPCC แนะว่าการถดถอยของภูเขาน้ำแข็ง การพังทลายของชั้นน้ำแข็งดังเช่นที่ชั้นน้ำแข็งลาร์เสน การเพิ่มระดับน้ำทะเล การเปลี่ยนรูปแบบการตกของฝน และการเพิ่มความรุนแรงและความถี่ของลมฟ้าอากาศสุดโต่ง เหล่านี้ นับเป็นลักษณะประจำของปรากฏการณ์โลกร้อน ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงได้คาดหวังไปที่รูปแบบโดยรวม ความแรงและความถี่ก็ยังเป็นการยากที่จะบอกลักษณะประจำของเหตุการณ์ที่จะเกิดโดยปรากฏการณ์โลกร้อน ผลที่คาดคะเนอีกประการหนึ่งรวมถึงการขาดแคลนน้ำในบางภูมิภาค และการเพิ่มปริมาณหยาดน้ำฟ้าในอีกที่หนึ่ง การเปลี่ยนแปลงปริมาณหิมะบนภูเขาและสุขภาพที่เสื่อมส่งจากอุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้น

การคาดคะเนผลพบว่าจะมีการเสียชีวิตเพิ่ม มีการอพยพย้ายถิ่น เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เนื่องมาจากลมฟ้าอากาศสุดโต่งที่เป็นลักษณะประจำของปรากฏการณ์โลกร้อนซึ่งอาจยิ่งแย่หนักขึ้นจากการเพิ่มความหนาแน่นของประชากรในภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบ แม้ในเขตอบอุ่นผลการคาดคะเนบ่งว่าจะได้รับประโยชน์จากปรากฏการณ์โลกร้อนบ้าง เช่นการตายที่ลดลงเนื่องจากความหนาวเย็น บทสรุปความเป็นไปได้ของผลกระทบและการมีความเข้าใจที่ดีขึ้นมีปรากฏในรายงานผลการประเมินฉบับที่ 3 ของ IPPC โดยกลุ่มทำงานคณะที่ 2 ( IPCC Third Assessment Report), สรุปรายงานการประเมินผลกระทบฉบับที่ 4 (IPCC Fourth Assessment Report) ที่ใหม่กว่าของ IPCC รายงานว่ามีหลักฐานที่สังเกตเห็นได้ของการเพิ่มความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนในเขตมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2513 ที่มีสหสัมพันธ์กับการเพิ่มอุณหภูมิของผิวน้ำทะเล แต่การตรวจจับแนวโน้มระยะยาวมีความยุ่งยากซับซ้อนมากเนื่องจากคุณภาพของบันทึกที่ได้จากการเก็บตามปกติของการสังเกตการณ์โดยดาวเทียม บทสรุปยังแสดงให้เห็นว่ายังไม่มีแนวโน้มที่เห็นได้โดยชัดเจนเกี่ยวกับจำนวนโดยรวมของพายุหมุนเขตร้อนของทั้งโลก

ผลกระทบที่คาดคะเนเพิ่มเติมรวมถึงการเพิ่มระดับน้ำทะเล 110 ถึง 770 มิลลิเมตร ระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2533 และ 2643, การกระทบที่มีต่อเกษตรกรรม, ความเป็นไปได้ในการช้าลงของการหมุนเวียนแถบความร้อนน้ำทะเล (thermohaline circulation), การลดลงของชั้นโอโซน, การเพิ่มความรุนแรงของพายุเฮอริเคน, และเหตุการณ์ลมฟ้าอากาศสุดโต่ง, การลดลงของค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำทะเล และการแพร่ระบาดของโรคต่างๆ เช่น มาเลเรียและไข้เลือดออก การศึกษาชิ้นหนึ่งทำนายว่าจะมีสัตว์และพืชตัวจากอย่าง 1,103 ชนิดสูญพันธุ์ไประหว่าง 18% ถึง 35% ภายใน พ.ศ. 2593 ตามผลการคาดคะเนภูมิอากาศ อย่างไรก็ตาม การศึกษาในทางจับต้องอย่างจริงจังเกี่ยวกับการสูญพันธุ์จริงๆ ในช่วงที่ผ่านมายังมีน้อยมากและมีผลการวิจัยชิ้นหนึ่งในนี้คาดคะเนว่าอัตราการสูญพันธุ์ยังมีความไม่แน่นอน

เศรษฐกิจ

ไฟล์:IPCC AR4 WGIII GHG concentration stabilization levels.png
ผลการคาดคะเนการเพิ่มอุณหภูมิสำหรับช่วงการจำลองแบบเสถียร (แถบสี) เส้นสีดำตรงกลางของแถบแรเงาแสดง “การประมาณค่าที่ดีที่สุด” เส้นสีแดงและน้ำเงินคือเขตสิ้นสุด จากผลงานของ PCC AR4

ดูบทความหลัก: Economics of global warming และ Low-carbon economy

นักเศรษฐศาสตร์บางคนได้พยายามที่จะประมาณค่าความเสียหายรวมที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่เกิดทั่วโลก การประมาณค่าดังกล่าวยังไม่ประสบความสำเร็จในการไปถึงข้อสรุปที่สามารถสรุปได้ ในการสำรวจการประมาณค่า 100 ครั้ง มูลค่าความเสียหายเริ่มตั้งแต่ 10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันคาร์บอน (tC) (หรือ 3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันคาร์บอนไดออกไซด์) ไปจนถึง 350 เหรียญฯ /tC (หรือ 95 เหรียญฯ/ตันคาร์บอนไดออกไซด์) โดยมีค่ามัฌชิมที่ 43 เหรียญฯ/tC (12 เหรียญฯ /ตันคาร์บอนไดออกไซด์) รายงานที่ตีพิมพ์แพร่หลายมากชิ้นหนึ่งที่ว่าด้วยรายงานศักยภาพของผลกระทบทางเศรษฐกิจคือ “สเติร์นรีวิว” ซึ่งได้แนะว่าลมฟ้าอากาศสุดโต่งอาจลดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของโลกลงได้ถึง 1% และในกรณีสถานการณ์จำลองที่ที่แย่ที่สุดคือการลดการลดการบริโภคารยบุคคลของโลกลง 20% กรรมวิธีของรายงาน การแก้ต่างและข้อสรุปถูกวิพากษ์วิจารณ์โดยนักเศรษฐศาสตรืคนอื่นหลายคนที่ส่วนใหญ่กล่าวถึงสมมุติฐานการสอบทานของการให้ค่าส่วนลดและการเลือกเหตุการณ์จำลอง ในขณะที่คนอื่นๆ สนับสนุนความพยายามโดยรวมที่จะแจงนับความเสี่ยงทางเศรษฐกิจแม้จะไม่ได้ตัวเลขที่เฉพาะ

ในข้อสรุปค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ โครงการสิ่งแวดล้อมสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme)เน้นความเสี่ยงของผู้ประกัน ผู้ประกันช่วงและธนาคารเกี่ยวกับความเสียหายอย่างมากจากสถานการณ์ลมฟ้าอากาศและการบาดเจ็บ ในภาคเศรษฐกิจอื่นก็มีทีท่าที่จะประสบความยากลำบากเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ รวมทั้งการเกษตรกรรมและการขนส่งซึ่งตกอยู่ในภาวะการเสี่ยงเป็นอย่างมากทางเศรษฐกิจ

ความมั่นคง

เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ศูนย์เพื่อยุทธศาสตร์และนานาชาติศึกษา (Center for Strategic and International Studies)และ ศูนย์เพื่อความมั่นคงใหม่ของอเมริกา (Center for a New American Security)ได้ตีพิมพ์รายงานเน้นผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีต่อความมั่นคงของชาติ ผลกระทบต่อความมั่นคงดังกล่าวรวมถึงการเพิ่มการแข่งขันทางทรัพยากรระหว่างประเทศ การอพยพของผู้คนจำนวนมหาศาลจากพิ้นที่ที่ได้รับผลกระทบหนักสุด ความท้าทายต่อการรวมตัวกันของประเทศสำคัญที่เนื่องมาจากระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น และจากผลกระทบต่อเนื่องของปัจจัยต่างๆ ดังกล่าว ความเสี่ยงต่อการใช้อาวุธในการสู้รบกันรวมทั้งความเสี่ยงจากความขัดแย้งทางอาวุธนิวเคลียร์

การปรับตัวและการบรรเทา

ดูบทความหลัก: Adaptation to global warming, Mitigation of global warming และ Kyoto Protocol

ข้อตกลงอย่างกว้างๆ ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิอากาศที่ว่าอุณหภูมิของโลกจะร้อนขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นมีผลทำให้ชาติต่างๆ บริษัทและบุคคลต่างๆ จำนวนมากเริ่มลงพยายามปฏิบัติให้เป็นจริงเพื่อหยุดการร้อนขึ้นของโลกหรือหาวิธีการปรับตัวให้เข้ากับมัน นักสิ่งแวดล้อมหลายกลุ่มสนับสนุนให้มีปฏิบัติการต่อสู้กับปรากฏการณ์โลกร้อน มีหลายกลุ่มที่ทำโดยผู้บริโภค รวมทั้งโดยชุมชนและองค์การในภูมิภาคต่างๆ มีคนอื่นอีกหลายคนแนะให้มีการกำหนดโควต้าการผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิลโดยอ้างว่าการผลิตมีความสัมพันธ์โดยตรงการปลดปล่อย CO2

ปฏิบัติการของภาคธุรกิจว่าด้วยการเปลี่ยนภูมิอากาศ (business action on climate change) ก็มีด้วยเช่นกันซึ่งรวมถึงความพยายามเพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงานและการมุ่งใช้พลังงานทางเลือก นวัตกรรมสำคัญชิ้นหนึ่งได้แก่การพัฒนาการการซื้อแลกการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก (Emissions trading) โดยบริษัทกับรัฐบาลร่วมกันทำความตกลงเพื่อลดหรือเลิกการปล่อยแก๊สเรือนกระจกให้อยู่ในจำนวนที่กำหนดหรือมิฉะนั้นก็ใช้วิธี “ซื้อเครดิต” จากบริษัทอื่นที่ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่ำกว่าปริมาณกำหนด

ข้อตกลงแรกๆ ของโลกว่าด้วยการต่อสู้เพื่อลดแก๊สเรือนกระจกคือ “พิธีสารเกียวโต” ซึ่งเป็นการแก้ไข “กรอบงานการประชุมใหญ่ของสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” (UNFCCC) ซึ่งเจรจาต่อรองและตกลงกันเมื่อ พ.ศ. 2540 ปัจจุบันพิธีสารดังกล่าวครอบคลุมประเทศต่างๆ ทั่วโลกมากกว่า 160 ประเทศและรวมปริมาณการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกมากกว่า 65% ของทั้งโลก มีเพียงสหรัฐฯและคาซักสถานสองประเทศที่ยังไม่ให้สัตยาบรรณ ประเทศสหรัฐฯ เป็นประเทศที่ปล่อยแก๊สเรือนกระจกมากที่สุดในโลก สนธิสัญญานี้จะหมดอายุในปี พ.ศ. 2555 และได้มีการเจรจาระหว่างชาติที่เริ่มเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 เพื่อร่างสนธิสัญญาในอนาคตเพื่อใช้แทนฉบับปัจจุบัน

ประธานาธิบดีจอร์จ ดับบลิว บุช อ้างว่าพิธีสารเกียวโตไม่ยุติธรรมและใช้วิธีที่จะใช้ไม่ได้ผลในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก ประเทศสหรัฐฯ จะได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงเพราะยังมีการยกเว้นให้ประเทศอื่นๆ ในโลกมากกว่า 80% ของประเทศที่ลงนามรวมทั้งหมด ประเทศมที่เป็นศูนย์รวมประชากรที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ จีน และ อินเดีย แต่กระนั้น ก็ยังมีรัฐและรัฐบาลท้องถิ่นจำนวนมากในสหรัฐฯ ที่ริเริ่มโครงการรณรงค์วางแนวปฏิบัติของตนเองให้เป็นไปตามพิธีสารเกียวโต ตัวอย่างเช่น “การริเริ่มแก๊สเรือนกระจกภูมิภาค” ซึ่งเป็นโปรแกรมการหยุดและซื้อเครดิตการปล่อยแก๊สเรือนกระจกระดับรัฐซึ่งประกอบด้วยรัฐต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐฯ จัดตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2548

จีนและอินเดีย แม้จะได้รับการยกเว้นในฐานะของประเทศกำลังพัฒนาก็ได้ให้สัตยาบรรณในพิธีสารเกียวโตแล้ว ขณะนี้ จีนอาจปล่อยแก๊สเรือนกระจกรวมต่อปีในปริมาณแซงสหรัฐฯ ไปแล้ว ตามผลการศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้ [[นายกรัฐมนตรี[[]]เหวิน เจียเป่า]]ได้เรียกร้องให้เพิ่มความพยายามลดการปลดปล่อยเป็นสองเท่าเพื่อต่อสู่กับปัญหามลพิษและปรากฏการณ์โลกร้อน

คณะทำงานกลุ่มที่ 3 ของ IPCC รับผิดชอบต่อการทำรายงานเกี่ยวกับการบรรเทาปรากฏการณ์โลกร้อนและวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลดีของแนวทางต่างๆ เมื่อ พ.ศ. 2550 ในรายงานผลการประเมินของ IPCC ได้สรุปว่ายังไม่มีเทคโนโลยีส่วนใดของผู้ใดที่สามารถรับผิดชอบต่อการบรรเทาการร้อนขึ้นของบรรยกาศในอนาคตได้ทั้งหมด พบว่ามีแนวปฏิบัติทางโทคโนโลยีในหลายด้าน เช่น อุปทานเชื้อเพลิง การขนส่ง อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมที่สามารถนำมาใช้เพื่อลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก มีการประมาณว่าความสเถียรของ “การเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์” จะอยู่ระหว่าง 445 และ 710 ล้าน/ล้านส่วนในปี พ.ศ. 2573 ที่จะมีผลระหว่างการเพิ่ม 0.6% และลด 3% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของโลก

การอภิปรายทางสังคมและการเมือง

ดูบทความหลัก: Global warming controversy, Politics of global warming, และ Economics of global warming

ดูเพิ่ม: Economics of global warming

การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อหัวในปี พ.ศ. 2543
การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อประเทศในปี พ.ศ. 2543


ช่วงหลายปีที่ผ่านมา การรับรู้และทัศนคติของสาธารณชนในความห่วงใยต่อสาเหตุและความสำคัญของปรากฏการณ์โลกร้อนได้เปลี่ยนแปลงไปมาก การเพิ่มความตระหนักในการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ในด้านต่างๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์โลกร้อนมีผลให้เกิดการอภิปรายทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง ประเทศในภูมิภาคต่างๆ ที่ยากจน โดยเฉพาะแถบแอฟริกาดูเหมือนว่าจะมีความเสี่ยงมากที่จะได้รับผลกระทบจากปรากฏการณ์โลกร้อนในขณะที่ตนเองปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกมาน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ในขณะเดียวกันประเทศกำลังพัฒนาที่ได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตามพิธีสารเกียวโตก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์มากจากประเทศสหรัฐและออสเตรเลียและทำให้สหรัฐฯ นำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของเหตุผลที่ยังไม่ยอมให้สัตยาบรรณในพิธีสารดังกล่าว ในโลกตะวันตก แนวคิดที่ว่ามนุษย์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในยุโรปมากกว่าในสหรัฐฯ

ประเด็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศได้จุดประกายการอภิปรายเพื่อชั่งน้ำหนักผลดีจากการจำกัดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกทางอุตสาหกรรมและแก๊สเรือนกระจกกับค่าใช้จ่ายของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่จะเกิดขึ้น ได้มีการถกเถียงกันในหลายประเทศเกี่ยวประโยชน์ที่จะได้รับกับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นจากการรับเอาพลังงานทางเลือกชนิดต่างๆ ที่จะใช้เพื่อลดการปลดปล่อยคาร์บอน องค์การและบริษัท เช่น "สถาบันวิสหกิจการแข่งขัน" (Competitive Enterprise Institute) และเอกซ์ซอนโมบิล (en:ExxonMobilExxonMobil) ได้เน้นสถานการณ์จำลองการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศเชิงอนุรักษ์นิยมในขณะเดียวกันก็เน้นให้เห็นศักยภาพค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจจองการควบคุมที่เข้มงวดเกินไป ในทำนองเดียวกัน ในการวิ่งเต้นทางสิ่งแวดล้อมของหลายฝ่ายและผู้มีบทบาทเด่นในสาธาณะหลายคนได้เปิดการรณรงค์เพื่อให้เน้นถึงศักยภาพของความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและให้มีการส่งเสริมการควบคุมที่เข้มงวด ให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง บริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิลบางแห่งได้เข้าร่วมโดยการลดขนาดความพยายามของตนลงในรอบหลายปีที่ผ่านมา หรือเรียกร้องให้มีนโยบายลดปรากฏการณ์โลกร้อน

อีกประเด็นหนึ่งที่อภิปรายกันก็คือกลุ่มประเทศเศรษฐกิจพัฒนาใหม่ (newly developed economies) เช่น อินเดียและจีนควรบังคับระดับการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกของในระดับใด เป็นที่คาดกันว่าการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์รวมของประเทศจีนจะเลยแซงอัตราการปล่อยของสหรัฐฯ ภายในไม่กี่ปีข้างหน้านี้และอาจเป็นไปได้ว่าเป็นเช่นนั้นไปแล้วด้วยตามรายงานเมื่อ พ.ศ. 2549 จีนยืนยันว่าตนมีความผูกมัดในการลดการปลดปล่อย เพราะเมื่อคิดต่อรายหัวแล้วน้อยกว่าสหรัฐฯ 1/5 อินเดียก็ได้รับการยกเว้นจากข้อจำกัดรวมทั้งแหล่งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่อื่นๆ หลายแห่งก็ได้ยืนยันอ้างสิทธิ์ในทำนองเดียวกัน อย่างไรก็ดี สหรัฐฯ ได้ยืนยันต่อสู้ว่าถ้าตนจะต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในการลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก จีนก็ควรต้องรับภาระนี้ด้วย

ประเด็นปัญหาภูมิอากาศที่เกี่ยวข้อง

บทความหลัก: en:Ocean acidification, global dimming และ ozone depletion

มีประเด็นปัญหาอื่นๆ อีกมากที่ยกขึ้นมาว่าสัมพันธ์กับปรากฏการณ์โลกร้อน หนึ่งในนั้นคือการเป็นกรด-ด่างของมหาสมุทร (ocean acidification) การเพิ่ม CO2 ในบรรยากาศเป็นการเพิ่ม CO2 ที่ละลายในน้ำทะเล CO2 ที่ละลายในน้ำทะเลทำปฏิกริยากับน้ำกลายเป็นกรดคาร์บอนิกซึ่งเดิมมีค่า pH ที่ผิว 8.25 ในสมัยเริ่มยุคอุตสาหกรรมมาเป็น 8.14 ในปี พ.ศ. 2547 และคาดคะเนผลว่าจะเพิ่มความเป็นอีกระหว่าง 0.14 ถึง 0.5 หน่วย pH ในปี พ.ศ. 2643 เมื่อมหาสมุทรดูดซับ CO2 มากขึ้น เนื่องจากจุลชีพและระบบนิเวศจะปรับตัวให้เข้ากับช่วง pH ที่แคบลง ทำให้เกิดความห่วงใยเกี่ยวกับการสูญพันธุ์ การเพิ่ม CO2 ในบรรยากาศโดยตรงจะทำให้โครงข่ายอาหาร (food webs) ที่ถูกรบกวนซึ่งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อสังคมมนุษย์ที่มีชีวิตขึ้นอยู่กับสิ่งได้รับจากระบบนิเวศทางทะเล

โลกหรี่ลง” (Global dimming) หรือการค่อยๆ ลดลงของความอาบรังสี (irradiance) ที่ผิวของโลกอาจมีส่วนในการบรรเทาปรากฏการณ์โลกร้อนในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2490 เป็นต้นมา) จากปี พ.ศ. 25032533 ละอองลอยที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์มีส่วนทำให้เกิดผลกระทบนี้ นักวิทยศาสตร์ได้แถลงด้วยความมั่นใจ 66-90% ว่าละอองลอยโดยมนุษย์ร่วมกับกิจกกรมของภูเขาไฟว่ามีส่วนทำให้ปรากฏการณ์โลกร้อนลดลงบางส่วน และว่าแก๊สเรือนกระจกน่าจะทำให้ร้อนมากกว่าที่สังเกตได้ถ้าไม่มีปัจจัย โลกหรื่ ลงมาช่วย

การลดถอยของโอโซน (Ozone depletion) มีการลดลงอย่างสม่ำเสมอจากปริมาณรวมของโอโซนในบรรยากาศ แม้จะมีส่วนเชื่อมโยงกันอยู่บ้าง ความสัมพันธ์ของสาเหตุทั้งสองนี้ยังไม่หนักแน่นพอ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Summary for Policymakers" (PDF). Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change. Intergovernmental Panel on Climate Change. 2007-02-05. สืบค้นเมื่อ 2007-02-02. The updated 100-year linear trend (1906 to 2005) of 0.74°C [0.56°C to 0.92°C] is therefore larger than the corresponding trend for 1901 to 2000 given in the TAR of 0.6°C [0.4°C to 0.8°C]. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. Hegerl, Gabriele C. (2007-05-07). "Understanding and Attributing Climate Change" (PDF). Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change. Intergovernmental Panel on Climate Change. p. 690. สืบค้นเมื่อ 2007-05-20. Recent estimates (Figure 9.9) indicate a relatively small combined effect of natural forcings on the global mean temperature evolution of the seconds half of the 20th century, with a small net cooling from the combined effects of solar and volcanic forcings {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  3. Ammann, Caspar (2007-04-06). "Solar influence on climate during the past millennium: Results from ransient simulations with the NCAR Climate Simulation Model" (PDF). Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 104 (10): 3713–3718. However, because of a lack of interactive ozone, the model cannot fully simulate features discussed in (44)." "While the NH temperatures of the high-scaled experiment are often colder than the lower bound from proxy data, the modeled decadal-scale NH surface temperature for the medium-scaled case falls within the uncertainty range of the available temperature reconstructions. The medium-scaled simulation also broadly reproduces the main features seen in the proxy records." "Without anthropogenic forcing, the 20th century warming is small. The simulations with only natural forcing components included yield an early 20th century peak warming of ≈0.2 °C (≈1950 AD), which is reduced to about half by the end of the century because of increased volcanism. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  4. The 2001 joint statement was signed by the scientific academies of Australia, Belgium, Brazil, Canada, the Caribbean, China, France, Germay, India, Indonesia, Ireland, Italy, Malaysia, New Zealand, Sweden, and the UK. The 2005 statement added Japan, Russia, and the U.S. The 2007 statement added Mexico, and South Africa. Professional societies include American Meteorological Society, American Geophysical Union, American Institute of Physics, American Astronomical Society, American Association for the Advancement of Science, Stratigraphy Commission of the Geological Society of London, Geological Society of America, American Chemical Society, and Engineers Australia.
  5. "Don't fight, adapt". National Post. December 2007. สืบค้นเมื่อ 2007-11-18.
  6. "A guide to facts and fictions about climate change". Royal Society. March 2005. สืบค้นเมื่อ 2007-11-18. However, the overwhelming majority of scientists who work on climate change agree on the main points
  7. "Beyond the Ivory Tower: The Scientific Consensus on Climate Change". Science Magazine. December 2004. สืบค้นเมื่อ 2008-01-04.
  8. "Climate Change: Basic Information". United States Environmental Protection Agency. 2006-12-14. สืบค้นเมื่อ 2007-02-09. In common usage, 'global warming' often refers to the warming that can occur as a result of increased emissions of greenhouse gases from human activities. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  9. "United Nations Framework Convention on Climate Change, Article I". United Nations Framework Convention on Climate Change. สืบค้นเมื่อ 2007-01-15.

อ่านเพิ่มเติม

  • Hinrichs, Kai-Uwe (2003-02-21). "Molecular Fossil Record of Elevated Methane Levels in Late Pleistocene Coastal Waters". Science. 299 (5610): 1214–1217. doi:10.1126/science.1079601. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Lerner, K. Lee (2006-07-26). Environmental issues : essential primary sources. Thomson Gale. ISBN 1414406258. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Sowers, Todd (2006-02-10). "Late Quaternary Atmospheric CH4 Isotope Record Suggests Marine Clathrates Are Stable". Science. 311 (5762): 838–840. doi:10.1126/science.1121235. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  • Walter, K. M. (2006-09-07). "Methane bubbling from Siberian thaw lakes as a positive feedback to climate warming". Nature. 443 (7107): 71–75. doi:10.1038/nature05040. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)

แหล่งข้อมูลภายนอก

ด้านวิทยาศาสตร์

ด้านการศึกษา

ภาครัฐ

อื่นๆ