เซปักตะกร้อเวิลด์คัพ
ก่อตั้ง | 2011 |
---|---|
ภูมิภาค | นานาชาติ (ISTAF) |
จำนวนทีม | 32 (ปัจจุบัน) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ไทย (ชาย) ไทย (หญิง) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ไทย (ชาย; 2 สมัย) ไทย (หญิง; 2 สมัย) |
อิสตาฟเวิลด์คัพ 2017 |
อิสตาฟเวิลด์คัพ (อังกฤษ: ISTAF World Cup) เป็นการแข่งขันเซปักตะกร้อนานาชาติในร่มที่จัดโดยสหพันธ์เซปักตะกร้อนานาชาติ (ISTAF) ซึ่งแข่งขันโดยทีมชาติชายและหญิง การแข่งขันชิงแชมป์ครั้งแรกเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2554 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยมีทีมชาย 23 ทีมและหญิง 13 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน การแข่งขันเกิดขึ้นเป็นประจำทุก ๆ สี่ปี กำหนดการแข่งขันครั้งต่อไปในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากการแข่งขันกีฬาซีเกมส์[1] การแข่งขันครั้งที่สองเกิดขึ้นที่เมืองไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2560[2] ประเทศไทยชนะการแข่งขันทั้งหมด[3]
สรุปผลการแข่งขัน
[แก้]ทีมชาย
[แก้]เซปักตะกร้อชายทีมชาติไทยเป็นทีมที่ครองตำแหน่งมากที่สุดในโลกจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยชนะเวิลด์คัพทั้ง 2 สมัย
ปี | เจ้าภาพ | ชิงชนะเลิศ | อันดับสาม | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | คะแนน | รองชนะเลิศ | |||||
2011 |
กัวลาลัมเปอร์ |
ไทย |
3–0 | มาเลเซีย |
สิงคโปร์ |
และ | พม่า |
2017 |
ไฮเดอราบาด |
ไทย |
2–0 | มาเลเซีย |
สิงคโปร์ |
และ | อินเดีย |
2021 | TBA | TBA | TBA | TBA | and | TBA |
ตารางสรุปเหรียญ
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 2 | 0 | 0 | 2 |
2 | มาเลเซีย | 0 | 2 | 0 | 2 |
3 | สิงคโปร์ | 0 | 0 | 2 | 2 |
4 | พม่า | 0 | 0 | 1 | 1 |
อินเดีย | 0 | 0 | 1 | 1 | |
รวม (5 ประเทศ) | 2 | 2 | 4 | 8 |
ทีมหญิง
[แก้]เซปักตะกร้อหญิงทีมชาติไทยเป็นทีมที่ครองตำแหน่งมากที่สุดในโลกจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยชนะเวิลด์คัพทั้ง 2 สมัย
ปี | เจ้าภาพ | ชิงชนะเลิศ | อันดับสาม | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | คะแนน | รองชนะเลิศ | |||||
2011 |
กัวลาลัมเปอร์ |
ไทย |
3–0 | เวียดนาม |
มาเลเซีย |
และ | จีน |
2017 |
ไฮเดอราบาด |
ไทย |
2–0 | เวียดนาม |
มาเลเซีย |
และ | อิหร่าน |
2021 | TBA | TBA | TBA | TBA | and | TBA |
ตารางสรุปเหรียญ
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 2 | 0 | 0 | 2 |
2 | เวียดนาม | 0 | 2 | 0 | 2 |
3 | มาเลเซีย | 0 | 0 | 2 | 2 |
4 | จีน | 0 | 0 | 1 | 1 |
อิหร่าน | 0 | 0 | 1 | 1 | |
รวม (5 ประเทศ) | 2 | 2 | 4 | 8 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "2015 Sepak Takraw World Cup postponed due to South East Asian Games" (ภาษาอังกฤษ). Yahoo News. 2015-03-18. สืบค้นเมื่อ 2019-01-05.
- ↑ "ISTAF World Cup to return after five-year absence" (ภาษาอังกฤษ). Stadium Astro. 2017-09-12. สืบค้นเมื่อ 2019-01-05.
- ↑ "Double triumph for Thailand in ISTAF World Cup Sepak Takraw Championship" (ภาษาอังกฤษ). Telangana Today. 2017-11-05. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-06. สืบค้นเมื่อ 2019-01-05.