อิปไซลอนแอนดรอมิดา
ข้อมูลสังเกตการณ์ ต้นยุคอ้างอิง J2000.0 วิษุวัต J2000.0 | |
---|---|
กลุ่มดาว | กลุ่มดาวแอนดรอมิดา |
ไรต์แอสเซนชัน | 01h 36m 47.843s[1] |
เดคลิเนชัน | +41° 24' 19.65"[1] |
ความส่องสว่างปรากฏ (V) | 4.09[1] |
คุณสมบัติ | |
ชนิดสเปกตรัม | F8V[1]/M4.5V |
ดัชนีสี U-B | 0.06 |
ดัชนีสี B-V | 0.54 |
ดัชนีสี V-R | 0.30 |
ดัชนีสี R-I | 0.30 |
มาตรดาราศาสตร์ | |
ความเร็วแนวเล็ง (Rv) | -28.9 ± 0.9[1] km/s |
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) | RA: -172.57 ± 0.52[1] mas/yr Dec.: -381.03 ± 0.45[1] mas/yr |
พารัลแลกซ์ (π) | 73.97[1] ± 0.19[1][2] mas |
ระยะทาง | 44.1 ±0.1 ly (13.52 ±0.03 pc) |
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV) | 3.44 |
รายละเอียด | |
มวล | 1.28 M☉ |
รัศมี | 1.6 R☉ |
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g) | 3.83 |
กำลังส่องสว่าง | 3.4 L☉ |
อุณหภูมิ | 6,095 K |
ค่าความเป็นโลหะ | 100% |
การหมุนตัว | ~10 วัน |
ความเร็วในการหมุนตัว (v sin i) | ~8 km/s |
อายุ | 3.3 × 109 ปี |
ชื่ออื่น | |
50 แอนดรอมิดา, กลีเซอ 61, เอชอาร์ 458, บีดี +40°332, เอชดี 9826, แอลทีที 10561, เอสเอโอ 37362, เอฟเค 5 1045, จีซี 1948, ซีซีดีเอ็ม 01367+4125, ดับเบิลยูดีเอส 01368+4124 เอ, เอชไอพี 7513 |
อิปไซลอนแอนดรอมิดา (อังกฤษ: Upsilon Andromedae; υ Andromedae / υ And) คือดาวคู่ที่อยู่ห่างจากโลกราว 44 ปีแสงในบริเวณกลุ่มดาวแอนดรอมิดา ดาวฤกษ์เอกคือ อิปไซลอนแอนดรอมิดา เอ เป็นดาวแคระเหลือง-ขาว ซึ่งมีอายุน้อยกว่าดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์รองในระบบคือ อิปไซลอนแอนดรอมิดา บี เป็นดาวแคระแดง อยู่ในวงโคจรที่กว้างกว่า
ณ ตอนนี้ (พ.ศ. 2553) มีดาวเคราะห์นอกระบบ 4 ดวงที่ได้รับการยืนยันแล้วว่าโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์เอกของระบบนี้ ดาวเคราะห์ทั้งสี่มีลักษณะเป็นดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดี อิปไซลอนแอนดรอมิดาเป็นดาวฤกษ์ดวงแรกในแถบลำดับหลักที่มีการค้นพบระบบดาวเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกหลายดวง และเป็นดวงแรกในหมู่ดาวฤกษ์ประเภทระบบดาวหลายดวงซึ่งมีสมาชิกในระบบดาวเคราะห์หลายดวง อิปไซลอนแอนดรอมิดาเป็นดาวฤกษ์ในลำดับที่ 21 ในจำนวน 100 เป้าหมายแรกของโครงการค้นหาดาวเคราะห์คล้ายโลก (อังกฤษ: Terrestrial Planet Finder ขององค์การนาซ่า ซึ่งต้องเลื่อนระยะเวลาโครงการออกไปเนื่องจากประสบปัญหาด้านการเงิน[3]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 "SIMBAD query result: NLTT 5367 -- High proper-motion Star". Centre de Données astronomiques de Strasbourg. สืบค้นเมื่อ 2009-05-20.
- ↑ van Leeuwen, F. (2007). "HIP 7513". Hipparcos, the New Reduction. สืบค้นเมื่อ 2008-08-17.
- ↑ "#12 HIP 7513". TPF-C Top 100. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-01. สืบค้นเมื่อ 5 July 2006.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|dateformat=
ถูกละเว้น (help)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "A Triple-Planet System Orbiting Ups Andromedae". San Francisco State University. Lick Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-24. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "Mystery Solved: How The Orbits Of Extrasolar Planets Became So Eccentric". SpaceDaily. 2005-04-14. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "Upsilon Andromedae". Extrasolar Visions. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-10-15. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "Upsilon Andromedae". The Internet Encyclopedia of Science. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "Upsilon Andromedae". The Planet Project. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-18. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "Upsilon Andromedae 2". SolStation. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "The Upsilon Andromedae Planetary System". Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- "υ Andromedae". AlcyoneEphemeris. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-29. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
- HR 0458
- CCDM 01367+4125
- Hypothetic object ups And e
- Extrasolar Planet Interactions เก็บถาวร 2016-05-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Rory Barnes & Richard Greenberg, Lunar and Planetary Lab, University of Arizona
- Sky map เก็บถาวร 2006-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน