มะยมฝรั่ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มะยมฝรั่ง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Myrtales
วงศ์: Myrtaceae
สกุล: Eugenia
สปีชีส์: E.  uniflora
ชื่อทวินาม
Eugenia uniflora
L.
ชื่อพ้อง[1]
รายการ
    • Eugenia arechavaletae Herter
    • Eugenia costata Cambess.
    • Eugenia dasyblasta (O.Berg) Nied.
    • Eugenia decidua Merr.
    • Eugenia indica Nicheli
    • Eugenia lacustris Barb. Rodr.
    • Eugenia michelii Lam.
    • Eugenia microphylla Barb. Rodr.
    • Eugenia myrtifolia Salisb.
    • Eugenia oblongifolia (O.Berg) Arechav.
    • Eugenia oblongifolia (O.Berg) Nied. nom. illeg.
    • Eugenia strigosa (O.Berg) Arechav.
    • Eugenia willdenowii (Spreng.) DC. nom. illeg.
    • Eugenia zeylanica Willd.
    • Luma arechavaletae (Herter) Herter
    • Luma costata (Cambess.) Herter
    • Luma dasyblasta (O.Berg) Herter
    • Luma strigosa (O.Berg) Herter
    • Myrtus brasiliana L.
    • Myrtus willdenowii Spreng.
    • Plinia pedunculata L.f.
    • Plinia petiolata L. nom. illeg.
    • Plinia rubra L.
    • Plinia tetrapetala L.
    • Stenocalyx affinis O.Berg
    • Stenocalyx brunneus O.Berg
    • Stenocalyx costatus (Cambess.) O.Berg
    • Stenocalyx dasyblastus O.Berg
    • Stenocalyx glaber O.Berg
    • Stenocalyx impunctatus O.Berg
    • Stenocalyx lucidus O.Berg
    • Stenocalyx michelii (Lam.) O.Berg
    • Stenocalyx nhampiri Barb. Rodr.
    • Stenocalyx oblongifolius O.Berg
    • Stenocalyx rhampiri Barb.Rodr.
    • Stenocalyx ruber (L.) Kausel
    • Stenocalyx strigosus O.Berg
    • Stenocalyx uniflorus (L.) Kausel
    • Syzygium michelii (Lam.) Duthie

มะยมฝรั่ง ชื่อวิทยาศาสตร์: Eugenia uniflora เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ใบเกลี้ยงเป็นมัน มีตุ่มใสบนผิวใบ ใบจะเป็นสีแดง ดอกหอม สีขาวครีม กลีบเลี้ยงเป็นหลอด กลีบดอกสีขาว ผลสดแบบมีเนื้อหลายเมล็ด ห้อยลง ทรงกลมแบน ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีส้ม แก่สีแดงสดหรือค่อนข้างดำ ฉ่ำน้ำ รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นไม้พื้นเมืองในบริเวณสุรินัมในอเมริกาใต้ ไปจนถึงกายอานาและปารากวัย ปัจจุบันมีปลูกทั่วไป ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกที่เกาะชวา ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย แต่ไม่มากนัก

รับประทานผลสดหรือแปรรูปเป็นแยม เยลลี่ หรือดอง ในบราซิลใช้ผลิตน้ำส้มสายชูหรือไวน์ ใช้เป็นไม้ประดับ ใบมีน้ำมันเมื่อขยี้จะมีกลิ่นฉุน ใช้ไล่แมลง เปลือกลำต้นมีแทนนินใช้ฟอกหนัง ในสุรินัมและบราซิลใช้ใบบดละเอียดเป็นยาเจริญอาหาร ในชวาใช้ผลเป็นยาลดความดันโลหิต

มะยมฝรั่งดิบ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน138 กิโลจูล (33 กิโลแคลอรี)
7.49 g
0.4 g
0.8 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(9%)
75 μg
ไทอามีน (บี1)
(3%)
0.03 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(3%)
0.04 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(2%)
0.3 มก.
วิตามินซี
(32%)
26.3 มก.
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(1%)
9 มก.
เหล็ก
(2%)
0.2 มก.
แมกนีเซียม
(3%)
12 มก.
ฟอสฟอรัส
(2%)
11 มก.
โพแทสเซียม
(2%)
103 มก.
โซเดียม
(0%)
3 มก.

ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

รวมภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "The Plant List: A Working List of All Plant Species". สืบค้นเมื่อ March 7, 2014.
  • พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และคณะ. ทรัพยากรพืชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2: ไม้ผลและไม้ผลเคี้ยวมัน. กทม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2544. หน้า 226

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]