ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามใน พ.ศ. 2476"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Nitisart Jungtrakungrat (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
** '''[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]''': [[เจ้าแก้วนวรัฐ]]
** '''[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]''': [[เจ้าแก้วนวรัฐ]]
** '''[[เจ้าผู้ครองนครลำพูน]]''': [[เจ้าจักรคำขจรศักดิ์]]
** '''[[เจ้าผู้ครองนครลำพูน]]''': [[เจ้าจักรคำขจรศักดิ์]]
* '''คณะรัฐมนตรี'''
** [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 2|คณะที่ 2]] (ถึง 1 เมษายน 2476)
** [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3|คณะที่ 3]] (1 เมษายน 2476 – 20 มิถุนายน 2476)
** [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4|คณะที่ 4]] (21 มิถุนายน 2476 – 16 ธันวาคม 2476)
** [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5|คณะที่ 5]] (เริ่ม 16 ธันวาคม 2476)
* '''นายกรัฐมนตรี'''
* '''นายกรัฐมนตรี'''
** [[พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)]] (ถึง 21 มิถุนายน 2476)
** [[พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)]] (แต่งตั้ง, [[รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476|รัฐประหาร]]) (ถึง 21 มิถุนายน 2476)
** [[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)]] ([[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหาร]]) (เริ่ม 21 มิถุนายน 2476)
** [[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)]] ([[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหาร]]) (เริ่ม 21 มิถุนายน 2476)
* '''สภาผู้แทนราษฎร''': [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1|ชุดที่ 1]] (เริ่ม 15 พฤศจิกายน 2476)
* '''สภาผู้แทนราษฎร'''
** [[ผู้แทนราษฎรชั่วคราว|ชุดชั่วคราว]] (ถึง 10 ธันวาคม 2476)
** [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1|ชุดที่ 1]] (เริ่ม 15 ธันวาคม 2476)
* '''ประธานสภาผู้แทนราษฎร'''
* '''ประธานสภาผู้แทนราษฎร'''
** [[เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)]] (ถึง 10 ธันวาคม 2476)
** [[เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)]] (ถึง 10 ธันวาคม 2476)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:32, 14 เมษายน 2564

ประเทศไทย
ใน พ.ศ.
2476
ดูเพิ่ม:

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 152 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 9 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นปี พ.ศ. 2475 (1 มกราคม - 31 มีนาคม) และ 2476 (1 เมษายน - 31 ธันวาคม) ในแบบปัจจุบัน

ผู้นำ

เหตุการณ์

มีนาคม

เมษายน

  • 1 เมษายนรัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476: พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) นายกรัฐมนตรี ออกพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา[3] บ้างอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวว่าเพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่ โดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรี
  • 2 เมษายน – มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง
  • 12 เมษายน – หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) ถูกบังคับให้เดินทางออกนอกประเทศไปยังประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากความเห็นของปรีดีถูกโจมตีว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ภายหลังการเสนอเค้าโครงร่างทางเศรษฐกิจ[4]

มิถุนายน

กรกฎาคม

กันยายน

  • 29 กันยายน – หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เดินทางกลับประเทศไทย

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

อ้างอิง

  1. www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์
  2. อนุสรณ์ ธรรมใจ, ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547, 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร
  3. บทความ เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550
  4. geocities.com/siamintellect ชีวประวัติ ปรีดี พนมยงค์

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ปฏิทินปี 1933 - ประเทศไทย