ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


==พระประวัติ==
==พระประวัติ==
หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ (ราชสกุลเดิม เทวกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2442 เป็นพระธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] ประสูติแต่หม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม จันทรเสน) มีโสทรภราดาและโสทรภคินี 12 องค์
หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ (ราชสกุลเดิม เทวกุล) เป็นพระธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] ประสูติแต่หม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม จันทรเสน) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2442 (แบบสากลคือ พ.ศ. 2443) มีโสทรภาดาและโสทรภคินี 12 องค์


หม่อมเจ้าวิไลกัญญา เสกสมรสกับ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช]] (พระโอรสใน[[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] กับหม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา) มีพระโอรส 1 องค์ คือ หม่อมเจ้าภาณุเทวัญ ภาณุพันธุ์
หม่อมเจ้าวิไลกัญญา เสกสมรสกับ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช]] (พระโอรสใน[[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] กับ[[หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา]]) มีพระโอรส 1 องค์ คือ หม่อมเจ้าภาณุเทวัญ ภาณุพันธุ์


หลังจากที่พระโอรสเพียงพระองค์เดียวสิ้นชีพิตักษัย หม่อมเจ้าหญิงวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ ก็มิได้ทรงมสีพระโอรสหรือพระธิดาอีกเลย จึงเป็นเหตุให้ทรงพระเมตตากรุณาแก่บรรดาพระโอรสธิดาองค์อื่นๆ ของกรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ที่มีอยู่อีกด้วย ดังนั้นจึงได้ทรงเลี้ยงดูมาประดุจบุตรบุญธรรมด้วยสามองค์ ซึ่งก็ได้อยู่ร่วมกันกับพระองค์ท่านตลอดมา จนถึงกาลอวสานแห่งพระชนม์ชีพ พระธิดาดังกล่าวมีรายพระนามดังต่อไปนี้ คือ
หลังจากที่พระโอรสเพียงองค์เดียวสิ้นชีพิตักษัย หม่อมเจ้าวิไลกัญญาก็มิได้ทรงมีพระโอรสหรือพระธิดาอีกเลย ทำให้ทรงเมตตากรุณาบรรดาพระโอรสธิดาองค์อื่น ๆ ของพระสวามี ทรงเลี้ยงดูประดุจพระธิดาบุญธรรมสามองค์ ซึ่งก็ได้ประทับร่วมกันกับหม่อมเจ้าวิไลกัญญาตลอดมาจนถึงชีพิตักษัย พระธิดาดังกล่าวมีรายพระนามดังต่อไปนี้ คือ


หม่อมเจ้าประภาพันธุ์ ([[ประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ]]) สมรสกับเรืออากาศเอกโกสีย์ กรโกสิยกาจ
*[[ประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ]] ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับเรืออากาศเอกโกสีย์ กรโกสิยกาจ
*[[พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์]] ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับนายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์
*[[หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์]]


หม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาสทรงเคารพหม่อมเจ้าวิไลกัญญาประดุจพระมารดาแท้ ๆ และทรงเรียกหม่อมเจ้าวิไลกัญญาว่าแม่ อีกทั้งยังสมรสกับนายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์ พระญาติของหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ซึ่งนายแพทย์ชูช่วงได้เข้าเฝ้าหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ที่ตำหนักอยู่บ่อย ๆ จึงได้พบรักกับหม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาส<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์|ชื่อหนังสือ=อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=กรมศิลปากร|ปี= พ.ศ. 2527|ISBN=|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=157}}</ref>{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
หม่อมเจ้าหญิง[[พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์]] สมรสกับนายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์


หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2509 สิริชันษา 66 ปี พระราชทานเพลิงศพ ณ [[เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส]] เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ปีเดียวกัน
[[หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์]]

แพทย์หญิง[[พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์]] (พระธิดาใน[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช]] ประสูติแต่หม่อมมาลี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา) ทรงเคารพหม่อมเจ้าวิไลกัญญาประดุจพระมารดาแท้ ๆ และทรงเรียกหม่อมเจ้าวิไลกัญญาว่าแม่ อีกทั้งแพทย์หญิงพันธุ์วโรภาสยังสมรสกับนายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์ พระญาติของหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ซึ่งนายแพทย์ชูช่วงได้เข้าเฝ้าหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ที่ตำหนักอยู่บ่อย ๆ จึงได้พบรักกับแพทย์หญิงพันธุ์วโรภาส<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์|ชื่อหนังสือ=อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=กรมศิลปากร|ปี= พ.ศ. 2527|ISBN=|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=157}}</ref>{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2509 สิริชันษา 67 ปี พระราชทานเพลิงศพ ณ [[เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส]] เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ปีเดียวกัน


==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:04, 10 กุมภาพันธ์ 2564

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์
หม่อมเจ้า ชั้น 4
ประสูติ1 มกราคม พ.ศ. 2443
สิ้นชีพิตักษัย30 มิถุนายน พ.ศ. 2509 (66 ปี)
สวามีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช
พระบุตรหม่อมเจ้าภาณุเทวัญ ภาณุพันธุ์
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
พระมารดาหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ (ราชสกุลเดิม เทวกุล; 1 มกราคม พ.ศ. 2443 – 30 มิถุนายน พ.ศ. 2509) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่หม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา และเป็นชายาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

พระประวัติ

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ (ราชสกุลเดิม เทวกุล) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่หม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม จันทรเสน) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2442 (แบบสากลคือ พ.ศ. 2443) มีโสทรภาดาและโสทรภคินี 12 องค์

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา เสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช (พระโอรสในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา) มีพระโอรส 1 องค์ คือ หม่อมเจ้าภาณุเทวัญ ภาณุพันธุ์

หลังจากที่พระโอรสเพียงองค์เดียวสิ้นชีพิตักษัย หม่อมเจ้าวิไลกัญญาก็มิได้ทรงมีพระโอรสหรือพระธิดาอีกเลย ทำให้ทรงเมตตากรุณาบรรดาพระโอรสธิดาองค์อื่น ๆ ของพระสวามี ทรงเลี้ยงดูประดุจพระธิดาบุญธรรมสามองค์ ซึ่งก็ได้ประทับร่วมกันกับหม่อมเจ้าวิไลกัญญาตลอดมาจนถึงชีพิตักษัย พระธิดาดังกล่าวมีรายพระนามดังต่อไปนี้ คือ

หม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาสทรงเคารพหม่อมเจ้าวิไลกัญญาประดุจพระมารดาแท้ ๆ และทรงเรียกหม่อมเจ้าวิไลกัญญาว่าแม่ อีกทั้งยังสมรสกับนายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์ พระญาติของหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ซึ่งนายแพทย์ชูช่วงได้เข้าเฝ้าหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ที่ตำหนักอยู่บ่อย ๆ จึงได้พบรักกับหม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาส[1][ระบุข้อมูลทางบรรณานุกรมไม่ครบ]

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2509 สิริชันษา 66 ปี พระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ปีเดียวกัน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

พงศาวลี

อ้างอิง

  1. พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์. อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์ชูช่วง เศวตรุนทร์. กรุงเทพ : กรมศิลปากร, พ.ศ. 2527. 157 หน้า. หน้า หน้าที่.
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/D/3173.PDF