ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮยีนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vivokkk77 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 50: บรรทัด 50:


===ลักษณะและพฤติกรรม===
===ลักษณะและพฤติกรรม===
ไฮยีนาสามารถแบ่งได้เป็น 25[[genus|สกุล]] (ดูในตาราง)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=621756 จาก itis.gov {{en}}]</ref> หลาย [[species|ชนิด]] กระจายพันธุ์ทั่วไปใน[[ทวีปแอฟริกา]]และบางส่วนในภูมิภาค[[อาหรับ]]และ[[อินเดีย]] ไฮยีนามีลักษณะรูปร่างคล้ายกับสุนัข มีขนหยาบหนา[[สีน้ำตาล]]แกม[[สีเทา|เทา]] มีลายและจุดแตกต่างกันตามแต่ละชนิด และมีหางยาวราว 18 นิ้ว ไหล่และหัวมีส่วนกว้าง ไหล่สูงกว่าขาหลังมาก และมีกรามที่แข็งแกร่งและแข็งแรงมาก ทำให้เป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีแรงกัดรุนแรงมาก
ไฮยีนา สามารถแบ่งได้เป็น 25[[genus|สกุล]] (ดูในตาราง)<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=621756 จาก itis.gov {{en}}]</ref> หลาย [[species|ชนิด]] กระจายพันธุ์ทั่วไปใน[[ทวีปแอฟริกา]]และบางส่วนในภูมิภาค[[อาหรับ]]และ[[อินเดีย]] ไฮยีนามีลักษณะรูปร่างคล้ายกับสุนัข มีขนหยาบหนา[[สีน้ำตาล]]แกม[[สีเทา|เทา]] มีลายและจุดแตกต่างกันตามแต่ละชนิด และมีหางยาวราว 18 นิ้ว ไหล่และหัวมีส่วนกว้าง ไหล่สูงกว่าขาหลังมาก และมีกรามที่แข็งแกร่งและแข็งแรงมาก ทำให้เป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีแรงกัดรุนแรงมาก


ไฮยีนามักจะรวมตัวกันออกหาเหยื่อโดยมีตัวเมียเป็นจ่าฝูง ไฮยีนาตัวเมียนั้นจะมีอวัยวะเพศที่ขยายใหญ่ได้จนมีขนาดเท่ากับอวัยวะเพศของตัวผู้ ตัวใดที่มีลักษณะอวัยวะเพศคล้ายเพศผู้ จะสามารถเข้ากลุ่มตัวเมียได้ดี ไฮยีนาตัวเมียที่ไม่มีอวัยวะเพศผู้จะถูกขับออกจากกลุ่มตัวเมีย และไม่สามารถใช้ประโยชน์จากการมีกลุ่มได้ ไฮยีนาสามารถวิ่งได้เร็วถึง 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นิสัยค่อนข้างดุ ไฮยีนาตัวเมียจะมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าตัวผู้ เนื่องจากจะเป็นฝ่ายดูแลลูก เพราะตัวผู้จะทำอันตรายและกินลูกไฮยีนาที่เกิดใหม่เป็นอาหารได้
ไฮยีนามักจะรวมตัวกันออกหาเหยื่อโดยมีตัวเมียเป็นจ่าฝูง ไฮยีนาตัวเมียนั้นจะมีอวัยวะเพศที่ขยายใหญ่ได้จนมีขนาดเท่ากับอวัยวะเพศของตัวผู้ ตัวใดที่มีลักษณะอวัยวะเพศคล้ายเพศผู้ จะสามารถเข้ากลุ่มตัวเมียได้ดี ไฮยีนาตัวเมียที่ไม่มีอวัยวะเพศผู้จะถูกขับออกจากกลุ่มตัวเมีย และไม่สามารถใช้ประโยชน์จากการมีกลุ่มได้ ไฮยีนาสามารถวิ่งได้เร็วถึง 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นิสัยค่อนข้างดุ ไฮยีนาตัวเมียจะมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าตัวผู้ เนื่องจากจะเป็นฝ่ายดูแลลูก เพราะตัวผู้จะทำอันตรายและกินลูกไฮยีนาที่เกิดใหม่เป็นอาหารได้


ไฮยีนาออกหากินในเวลา[[กลางคืน]] ตอน[[กลางวัน]]จะนอนหลับพักผ่อนในโพรงหรือซอกหิน จะคลอดลูกและเลี้ยงดูลูกในโพรง โดยออกลูกครั้งละประมาณ 1-2 ตัว บางครั้งอาจได้ถึง 4 ตัว โดยลูกอ่อนจะยังลืมตาและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ไฮยีนาออกหากินในเวลา[[กลางคืน]] ตอน[[กลางวัน]]จะนอนหลับพักผ่อนในโพรงหรือซอกหิน จะคลอดลูกและเลี้ยงดูลูกในโพรง โดยออกลูกครั้งละประมาณ 1-2 ตัว บางครั้งอาจได้ถึง 4 ตัว โดยลูกอ่อนจะยังลืมตาและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้


===ในวัฒนธรรมและความสัมพันธ์กับมนุษย์===
===ในวัฒนธรรมและความสัมพันธ์กับมนุษย์===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:33, 20 มิถุนายน 2563

ไฮยีนา
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 26–0Ma สมัยไมโอซีนตอนต้น-ปัจจุบัน
ไฮยีนาลายจุด (Crocuta crocuta)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
อันดับย่อย: Feliformia
วงศ์: Hyaenidae
Gray, 1821
สกุล
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของไฮยีนาสกุลต่าง ๆ (สีน้ำเงิน-Hyaena, สีเขียว-Crocuta, สีมาเจนตา-Proteles)
ชื่อพ้อง
  • Hyaeninae Gray, 1821
  • Protelinae I. Geoffroy Saint-Hilaire, 1851

ไฮยีนา (อังกฤษ: hyena; มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า [ὕαινα] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ออกเสียงว่า /ฮือไอนา/ หรือ /ฮือแอนา/[1]) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Hyaenidae

ไฮยีนา มีลักษณะและรูปร่างโดยรวมคล้ายกับสุนัขหรือหมาป่า ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์ Canidae แต่ไฮยีนาก็ไม่ใช่สุนัข หากแต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์ของตนเองต่างหาก โดยอยู่ในอันดับย่อย Feliformia ซึ่งใกล้ชิดกับPercrocutidae มากกว่า

ลักษณะและพฤติกรรม

ไฮยีนา สามารถแบ่งได้เป็น 25สกุล (ดูในตาราง)[2] หลาย ชนิด กระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปแอฟริกาและบางส่วนในภูมิภาคอาหรับและอินเดีย ไฮยีนามีลักษณะรูปร่างคล้ายกับสุนัข มีขนหยาบหนาสีน้ำตาลแกมเทา มีลายและจุดแตกต่างกันตามแต่ละชนิด และมีหางยาวราว 18 นิ้ว ไหล่และหัวมีส่วนกว้าง ไหล่สูงกว่าขาหลังมาก และมีกรามที่แข็งแกร่งและแข็งแรงมาก ทำให้เป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีแรงกัดรุนแรงมาก

ไฮยีนามักจะรวมตัวกันออกหาเหยื่อโดยมีตัวเมียเป็นจ่าฝูง ไฮยีนาตัวเมียนั้นจะมีอวัยวะเพศที่ขยายใหญ่ได้จนมีขนาดเท่ากับอวัยวะเพศของตัวผู้ ตัวใดที่มีลักษณะอวัยวะเพศคล้ายเพศผู้ จะสามารถเข้ากลุ่มตัวเมียได้ดี ไฮยีนาตัวเมียที่ไม่มีอวัยวะเพศผู้จะถูกขับออกจากกลุ่มตัวเมีย และไม่สามารถใช้ประโยชน์จากการมีกลุ่มได้ ไฮยีนาสามารถวิ่งได้เร็วถึง 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นิสัยค่อนข้างดุ ไฮยีนาตัวเมียจะมีรูปร่างที่ใหญ่กว่าตัวผู้ เนื่องจากจะเป็นฝ่ายดูแลลูก เพราะตัวผู้จะทำอันตรายและกินลูกไฮยีนาที่เกิดใหม่เป็นอาหารได้

ไฮยีนาออกหากินในเวลากลางคืน ตอนกลางวันจะนอนหลับพักผ่อนในโพรงหรือซอกหิน จะคลอดลูกและเลี้ยงดูลูกในโพรง โดยออกลูกครั้งละประมาณ 1-2 ตัว บางครั้งอาจได้ถึง 4 ตัว โดยลูกอ่อนจะยังลืมตาและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้

ในวัฒนธรรมและความสัมพันธ์กับมนุษย์

แม้ไฮยีนาจะมีขนาดและรูปร่างที่เล็กกว่าสิงโต แต่จะเป็นสัตว์ที่สิงโตมักจะแพ้เมื่อล่าเหยื่อได้แล้ว ไฮยีนาเข้ามาก่อกวนเพื่อที่จะแย่งซากสัตว์ที่ล่าได้ จนสิงโตเป็นฝ่ายล่าถอยไป จนมีความเชื่อกันว่า ไฮยีนาเป็นสัตว์ขี้ขลาด แต่ไฮยีนาก็มีพฤติกรรมล่าเหยื่อได้เอง และบางครั้งก็คุกคามสัตว์เลี้ยงต่าง ๆ ของมนุษย์ด้วย อาทิ วัว ควาย แพะ หรือแกะ และบางครั้งก็อาจโจมตีมนุษย์ได้เช่นกัน

ไฮยีนา เป็นสัตว์ที่กินไม่เลือก แม้แต่กระดูกก็กินได้ รวมทั้งซากศพด้วย อีกทั้งยังมีความเชื่อว่า ไฮยีนาเป็นสัตว์เจ้าเล่ห์ เมื่อถูกหมาป่ารุมทำร้าย ไฮยีนามักจะทำเป็นแกล้งตายเพื่อหลอกหมาป่า ทันทีที่หมาป่าละความสนใจ ก็จะลุกขึ้นหนีไป อีกทั้งเสียงร้องของไฮยีนานั้นยังคล้ายกับเสียงหัวเราะ ด้วยเหตุนี้ ทำให้ไฮยีนาได้กลายเป็นตัวละครที่เจ้าเล่ห์ในวัฒนธรรมร่วมสมัยหลายประการ อาทิ เป็นตัวละคร 3 ตัว ที่ชื่อ Shenzi, Banzai และ Ed ซึ่งมีบทบาทสำคัญในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องThe Lion King ของบริษัท วอลต์ ดิสนีย์ ในปี ค.ศ. 1995 เป็นต้น

ในประเทศไทยมีไฮยีนาเลี้ยงในสวนสัตว์ต่าง ๆ ได้แก่ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว, สวนสัตว์นครราชสีมา, สวนสัตว์สงขลา, เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี เป็นต้น[3]

ศัตรูทางธรรมชาติของไฮยีนา

  • มนุษย์
  • สิงโต
  • งู
  • หมา
  • เสือ
  • ลิง
  • แมว
  • ตะกวด
  • นกเหยี่ยว
  • จระเข้

อ้างอิง

  1. ὕαινα, Henry George Liddell, Robert Scott, A Greek-English Lexicon, on Perseus
  2. จาก itis.gov (อังกฤษ)
  3. หน้า 108-110, สัตว์สวยป่างาม โดย ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (สิงหาคม 2518)

แหล่งข้อมูลอื่น