ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอมพิวเตอร์วิทัศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มกล่องข้อมูล เพิ่มอ้างอิง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Artificial intelligence}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''คอมพิวเตอร์วิทัศน์''' ({{lang-en|computer vision}}) เป็นสาขาหนึ่งของ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึง[[สารสนเทศ]]จากรูปภาพหรือ[[วีดิทัศน์]] เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ [[เรขาคณิต]] [[พีชคณิตเชิงเส้น]] [[สถิติ]] และ [[การวิจัยดำเนินงาน]] ([[การหาค่าเหมาะที่สุด]]) และ[[การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน]] โดยเครื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้าง[[ขั้นตอนวิธี]]หรือ ขั้นตอนวิธี ใน[[การแยกส่วนภาพ]] และ [[การจัดกลุ่ม]]ภาพเพือให้[[คอมพิวเตอร์]]สามารถ "เข้าใจ" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ


'''คอมพิวเตอร์วิทัศน์''' ({{lang-en|computer vision}}) เป็นศาสตร์ที่ใช้ในการเข้าใจว่า[[คอมพิวเตอร์]]สามารถเข้าใจ[[ภาพ]]หรือ[[วิดีโอ]]ในรูปแบบเดียวกับที่ระบบการมองเห็นของมนุษย์<ref name="Ballard-Brown-1982">{{cite book|author1=Dana H. Ballard|author2=Christopher M. Brown|title=Computer Vision|publisher=Prentice Hall|year=1982|url=https://archive.org/details/computervision0000ball|isbn=978-0-13-165316-0}}</ref> คอมพิวเตอร์วิทัศน์รวมขั้นตอนการ [[เซนเซอร์รูปภาพ|ได้มา]] [[การประมวลผลภาพดิจิทัล|การประมวลผล]] [[การวิเคราะห์ภาพ|การวิเคราะห์]] และเข้าใจที่สามารถนำข้อมูลออกมาใช้ในการพยากรณ์หรือการตัดสินใจได้<ref name="Klette-2014">
{{cite book|author=Reinhard Klette|title=Concise Computer Vision|publisher=Springer|year=2014|isbn=978-1-4471-6320-6}}</ref>

คอมพิวเตอร์วิทัศน์ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึง[[สารสนเทศ]]จากรูปภาพหรือ[[วีดิทัศน์]] เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ [[เรขาคณิต]] [[พีชคณิตเชิงเส้น]] [[สถิติ]] และ [[การวิจัยดำเนินงาน]] ([[การหาค่าเหมาะที่สุด]]) และ[[การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน]] โดยเครื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้าง[[ขั้นตอนวิธี]]หรือ ขั้นตอนวิธี ใน[[การแยกส่วนภาพ]] และ [[การจัดกลุ่ม]]ภาพเพือให้[[คอมพิวเตอร์]]สามารถ "เข้าใจ" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ

== เป้าหมาย ==
เป้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่
เป้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่
* การตรวจจับ ตัดแบ่งขอบเขต ระบุตำแหน่ง และ รู้จำ วัตถุที่ต้องการในภาพ เช่น หน้าคน
* การตรวจจับ ตัดแบ่งขอบเขต ระบุตำแหน่ง และ รู้จำ วัตถุที่ต้องการในภาพ เช่น หน้าคน
บรรทัด 23: บรรทัด 27:
* [[การถ่ายภาพ 3 มิติ]] (three-dimensional imaging)
* [[การถ่ายภาพ 3 มิติ]] (three-dimensional imaging)


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==

{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www-2.cs.cmu.edu/~cil/vision.html The Computer Vision Homepage]
* [http://www-2.cs.cmu.edu/~cil/vision.html The Computer Vision Homepage]
* [http://homepages.inf.ed.ac.uk/rbf/CVonline/ CVonline: The Evolving, Distributed, Non-Proprietary, On-Line Compendium of Computer Vision]
* [http://homepages.inf.ed.ac.uk/rbf/CVonline/ CVonline: The Evolving, Distributed, Non-Proprietary, On-Line Compendium of Computer Vision]
* บทความที่น่าสนใจ Fisher, R., [http://www.dai.ed.ac.uk/papers/documents/rp710.html "Is Computer Vision Still AI?"], AI Magazine, Vol 15, No. 2, pp 21--27, 1994
* บทความที่น่าสนใจ Fisher, R., [http://www.dai.ed.ac.uk/papers/documents/rp710.html "Is Computer Vision Still AI?"], AI Magazine, Vol 15, No. 2, pp 21--27, 1994
* [http://ivc.siit.tu.ac.th/ Image and Vision Computing Laboratory] [[สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* [http://ivc.siit.tu.ac.th/ Image and Vision Computing Laboratory] [[สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* List of computer vision conferences [http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_computer_vision_conferences]
{{จบอ้างอิง}}



== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:การประมวลผลภาพ]]
[[หมวดหมู่:การประมวลผลภาพ]]
[[หมวดหมู่:ปัญญาประดิษฐ์]]
[[หมวดหมู่:ปัญญาประดิษฐ์]]
[[หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์วิทัศน์|คอมพิวเตอร์วิทัศน์]]
[[หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์วิทัศน์]]
{{โครงคอม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:46, 20 มิถุนายน 2563

ปัญญาประดิษฐ์

ศัพท์ปัญญาประดิษฐ์

GOFAI
การค้นหาในปริภูมิสถานะ
การวางแผนอัตโนมัติ
การค้นหาเชิงการจัด
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
การแทนความรู้
ระบบอิงความรู้
Connectionism
ข่ายงานประสาทเทียม
ชีวิตประดิษฐ์
ปัญญาประดิษฐ์แบบกระจาย
การเขียนโปรแกรมเชิงพันธุกรรม
ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม
ปัญญากลุ่ม
Artificial beings
Bayesian methods
เครือข่ายแบบเบย์
การเรียนรู้ของเครื่อง
การรู้จำแบบ
ระบบฟัซซี
ตรรกศาสตร์คลุมเครือ
ฟัซซีอิเล็กทรอนิกส์
Philosophy
ปัญญาประดิษฐ์แบบเข้ม
สำนึกประดิษฐ์
การทดสอบทัวริง

คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (อังกฤษ: computer vision) เป็นศาสตร์ที่ใช้ในการเข้าใจว่าคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาพหรือวิดีโอในรูปแบบเดียวกับที่ระบบการมองเห็นของมนุษย์[1] คอมพิวเตอร์วิทัศน์รวมขั้นตอนการ ได้มา การประมวลผล การวิเคราะห์ และเข้าใจที่สามารถนำข้อมูลออกมาใช้ในการพยากรณ์หรือการตัดสินใจได้[2]

คอมพิวเตอร์วิทัศน์ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึงสารสนเทศจากรูปภาพหรือวีดิทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ เรขาคณิต พีชคณิตเชิงเส้น สถิติ และ การวิจัยดำเนินงาน (การหาค่าเหมาะที่สุด) และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน โดยเครื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้างขั้นตอนวิธีหรือ ขั้นตอนวิธี ในการแยกส่วนภาพ และ การจัดกลุ่มภาพเพือให้คอมพิวเตอร์สามารถ "เข้าใจ" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ

เป้าหมาย

เป้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่

  • การตรวจจับ ตัดแบ่งขอบเขต ระบุตำแหน่ง และ รู้จำ วัตถุที่ต้องการในภาพ เช่น หน้าคน
  • การประเมินผล สำหรับ การตัดเบ่งขอบเขตวัตถุในภาพ หรือ การวางทาบเทียบ เป็นต้น
  • การวางทาบเทียบของ มุมมองต่าง ๆ ของทัศนียภาพ หรือ วัตถุหนึ่ง ๆ
  • การติดตาม วัตถุหนึ่ง ๆ ในภาพต่อเนื่อง
  • การเชื่อมโยงมุมมองต่าง ๆ ของทัศนียภาพหนึ่ง ๆ เพื่อสร้างแบบจำลองสามมิติ ของทัศนียภาพนั้น แบบจำลองดังกล่าวอาจนำมาใช้เพื่อนำทางหุ่นยนต์ ในทัศนียภาพจริง
  • การกะประมาณ ท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์ และ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น แขน ขา นิ้วมือ ฯลฯ ในสามมิติ
  • การค้นหา รูปภาพด้วยเนื้อหาของภาพ ในฐานข้อมูลภาพขนาดใหญ่

เพื่อที่จะบรรลุซึ่งเป้าหมายเหล่านี้ ระบบคอมพิวเตอร์วิทัศน์ จะต้องใช้กระบวนการต่างๆ เช่น การรู้จำแบบ การเรียนรู้เชิงสถิติ เรขาคณิตเชิงภาพฉาย การประมวลผลภาพ ทฤษฎีกราฟ และอื่น ๆ

คอมพิวเตอร์วิทัศน์การรับรู้ นั้น เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ จิตวิทยาการรับรู้ และ การคำนวณทางชีวภาพ

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์วิชั่นอันหนึ่งที่น่าสนใจ ได้แก่ การสร้างปรากฏการลวงตาต่าง ๆ ในภาพยนตร์ ปัจจุบัน เราจะพบการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ในสาขาต่าง ๆ เช่น การแพทย์ การทหาร ระบบตรวจตราและรักษาความปลอดภัย การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ระบบหุ่นยนต์ รถยนต์ และอื่น ๆ

ในปัจจุบัน เครื่องจักรวิทัศน์ และ การจัดการรูปภาพทางการแพทย์ ที่ใช้วิธีการต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์วิทัศน์ ได้รับการพัฒนา และ จัดจำหน่าย ในตลาดโลก คิดรวมเป็นมูลค่า หลายหมื่นล้านบาทต่อปี

สาขาที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลเพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. Dana H. Ballard; Christopher M. Brown (1982). Computer Vision. Prentice Hall. ISBN 978-0-13-165316-0.
  2. Reinhard Klette (2014). Concise Computer Vision. Springer. ISBN 978-1-4471-6320-6.