ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd ย้ายหน้า ต้นบุนนาค วัดคุ้งตะเภา ไปยัง ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา: ใช้ชื่อตามที่ได้รับขึ้นทะเบียน
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
|image= Big-Boonnak tree of Wat Khung Taphao.jpg
|image= Big-Boonnak tree of Wat Khung Taphao.jpg
|name= ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา
|name= ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา
|Native name lang= ต้นบุนนาค วัดคุ้งตะเภา, บุนนาคใหญ่, บุนนาคคู่วัด
|Native_name_lang= บุนนาคใหญ่, บุนนาคคู่วัด,<br>ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา<br>(ชื่อที่ได้รับขึ้นทะเบียน)
|type=รุกขมรดกระดับชาติ<br>โดยกระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. 2562)<ref name="ประกาศ 62">[http://www.culture.go.th/culture_th/download/patadu/sum.pdf ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกต้นไม้ " รุกข มรดกของแผ่นดิน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒]</ref>
|type=รุกขมรดกระดับชาติ<br>โดยกระทรวงวัฒนธรรม<br>(พ.ศ. 2562)<ref name="ประกาศ 62">[http://www.culture.go.th/culture_th/download/patadu/sum.pdf ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกต้นไม้ " รุกข มรดกของแผ่นดิน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒]</ref>
|location=[[วัดคุ้งตะเภา]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
|location=[[วัดคุ้งตะเภา]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
|Species=M. ferrea
|Species=M. ferrea
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ที่มีคุณค่าและมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ 1 ใน 4 ต้น ของ[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] รองจาก[[อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่|ต้นมเหสักข์ (ต้นสักใหญ่ของโลก)]] ต้นมะค่าโมงยักษ์ [[อ.ฟากท่า]] และต้นมะปรางป่า [[วัดพระแท่นศิลาอาสน์]] โดยต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภาได้รับประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นรุกขมรดกระดับประเทศโดย[[กระทรวงวัฒนธรรม]]ในปี พ.ศ. 2562<ref name="ประกาศ 62"/>
ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ 1 ใน 4 ต้น ของ[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] รองจาก[[อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่|ต้นมเหสักข์ (ต้นสักใหญ่ของโลก)]] ต้นมะค่าโมงยักษ์ [[อ.ฟากท่า]] และต้นมะปรางป่า [[วัดพระแท่นศิลาอาสน์]] โดยต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภาได้รับประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นรุกขมรดกระดับประเทศโดย[[กระทรวงวัฒนธรรม]]ในปี พ.ศ. 2562<ref name="ประกาศ 62"/>เนื่องจากต้นบุนนาคนั้นเป็นไม้ยืนต้นโตช้า ต้นที่มีขนาดใหญ่เช่นนี้จึงหาชมได้ยากยิ่งในปัจจุบัน


ต้น[[บุนนาค]]นี้เป็นไม้ยืนต้น โตช้า และหาชมได้ยาก ต้นบุนนาคคู่วัดคุ้งตะเภาเชื่อว่าปลูกโดย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] ในปี พ.ศ. 2313 เมื่อแรกสร้างวัดคุ้งตะเภา ได้รับยกย่องจากผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มจังหวัดมรดกโลกทางวัฒนธรรม จ.[[สุโขทัย]] ให้เป็นบุนนาคพญาในวัดที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในหัวเมืองเหนือ (Upper Siam) หรือจังหวัดในกลุ่ม[[วัฒนธรรม]]สุโขทัยโบราณ เชื่อว่ามีความใหญ่เป็นรองเพียงต้นบุนนาคคู่ที่เมืองยอง [[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]]<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้">________. (2562). รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้ "รุกข มรดกของแผ่นดิน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. อุตรดิตถ์ : สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์. (อัดสำเนา). </ref>
ต้นบุนนาคนี้มีอายุประมาณ 240 ปี จากขนาดเส้นรอบวง 3-4 เมตร ความสูง 25 เมตร เป็นสัญลักษณ์แห่งราชานุสรณ์ในพระมหากรุณาธิคุณของ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] ตามตำนานท้องถิ่นที่เชื่อว่าทรงปลูกไว้เมื่อครั้งทรงพระราชอุทิศไม้พระตำหนักค่ายหาดสูงเพื่อทรงสร้าง[[วัดคุ้งตะเภา]] หลังเอาชนะศึก[[ชุมนุมเจ้าพระฝาง]]ได้สำเร็จใน พ.ศ. 2313 นอกจากนี้ยังได้รับยกย่องให้เป็นบุนนาคพญาในวัดที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในหัวเมืองเหนือ (Upper Siam) หรือจังหวัดในกลุ่ม[[วัฒนธรรม]]สุโขทัยโบราณ เชื่อว่ามีความใหญ่เป็นรองเพียงต้นบุนนาคคู่ที่เมืองยอง [[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]]<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้">________. (2562). รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้ "รุกข มรดกของแผ่นดิน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. อุตรดิตถ์ : สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์. (อัดสำเนา). </ref>




== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


บุนนาคใหญ่นี้ยืนต้นอยู่ใน[[วัดคุ้งตะเภา]] วัดที่มีความเก่าแก่ติด 1 ใน 9 วัดของเมือง[[อุตรดิตถ์]] ซึ่งเป็นวัดในชุมชนคนไทย[[ภาษาถิ่น]]สุโขทัยโบราณที่อยู่เหนือสุดในกลุ่มวัฒนธรรมหัวเมืองเหนือสมัยอยุธยา เป็นร่องรอยของขนบในการปลูกสมุนไพรเกสรทั้ง 5 ไว้ในวัดตามจารีตสุโขทัยโบราณจากหลักฐานใน[[ศิลาจารึก]]สุโขทัย
บุนนาคนี้ยืนต้นอยู่ใน[[วัดคุ้งตะเภา]] วัดที่มีความเก่าแก่ติด 1 ใน 9 วัดของเมือง[[อุตรดิตถ์]] ซึ่งเป็นวัดในชุมชนคนไทย[[ภาษาถิ่น]]สุโขทัยโบราณที่อยู่เหนือสุดในกลุ่มวัฒนธรรมหัวเมืองเหนือสมัยอยุธยา ซึ่งการปลูกต้นบุนนาคไว้ในวัดนั้น เป็นร่องรอยของขนบในการปลูกสมุนไพรเกสรทั้ง 5 ไว้ในวัดตามจารีตสุโขทัยโบราณจากหลักฐานใน[[ศิลาจารึก]]สุโขทัย เพื่อให้เป็นสมุนไพรรักษาโรคและเป็นต้นไม้มงคลประจำอาราม


โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุนนาคนี้มีความสำคัญต่อประวัติวัดและชุมชน เนื่องจากเป็นต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่ ๆ เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ บริเวณริม[[แม่น้ำน่าน]]สายเก่าอันเป็นที่ตั้งวัดคุ้งตะเภาเดิมในสมัยธนบุรี ซึ่งเป็นเส้นทางเดินทัพของสมเด็จ[[พระเจ้าตากสิน]]มหาราชเมื่อคราวยกทัพมาปราบปราม[[ชุมนุมเจ้าพระฝาง]] ในตำบลที่ตั้งพลับพลารับเสด็จพระตำหนักค่ายหาดสูงตามพระราชพงศาวดาร<ref>ธีระวัฒน์ แสนคำ. (2558). ''''''สวางคบุรีศรีคุ้งตะเภา : สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับสมรภูมิสวางคบุรี-คุ้งตะเภา อนุสรณ์ 245 ปี แห่งการสถาปนาวัดคุ้งตะเภา''''''. อุตรดิตถ์ : สำนักงานสภาวัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ กระทรวงวัฒนธรรม. ISBN 978-616-543-334-1 หน้า 78-79</ref> วัดคุ้งตะเภาปรากฏหลักฐานการสร้างวัดในปีเดียวกันนั้นหลังการชำระสงฆ์คราวปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง ใน พ.ศ. 2313<ref>กรมการศาสนา. (2531). '''ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม ๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. หน้า 34.</ref> และในบริเวณโดยรอบต้นบุนนาคยังพบเศษอิฐและกระเบื้องดินเผาโบราณกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในระดับชั้นดินอีกด้วย<ref name="สารพันบันทึกเล่าพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา">พระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี. (2560). ''''''สารพันบันทึกเล่าพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา : ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น''''''. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. ISBN 978-616-543-4522. หน้า 47-51</ref>
นอกจากนั้นต้นบุนนาคนี้ตั้งอยู่ในพื้นที่ ๆ เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ บริเวณริม[[แม่น้ำน่าน]]สายเก่าอันเป็นที่ตั้งวัดคุ้งตะเภาเดิมในสมัยธนบุรี ซึ่งเป็นเส้นทางเดินทัพของสมเด็จ[[พระเจ้าตากสิน]]มหาราชเมื่อคราวยกทัพมาปราบปราม[[ชุมนุมเจ้าพระฝาง]] ในตำบลที่ตั้งพลับพลารับเสด็จพระตำหนักค่ายหาดสูงตามพระราชพงศาวดาร<ref>ธีระวัฒน์ แสนคำ. (2558). ''''''สวางคบุรีศรีคุ้งตะเภา : สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับสมรภูมิสวางคบุรี-คุ้งตะเภา อนุสรณ์ 245 ปี แห่งการสถาปนาวัดคุ้งตะเภา''''''. อุตรดิตถ์ : สำนักงานสภาวัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ กระทรวงวัฒนธรรม. ISBN 978-616-543-334-1 หน้า 78-79</ref> วัดคุ้งตะเภาปรากฏหลักฐานการสร้างวัดในปีเดียวกันนั้นหลังการชำระสงฆ์คราวปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง ใน พ.ศ. 2313<ref>กรมการศาสนา. (2531). '''ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม ๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. หน้า 34.</ref> และในบริเวณโดยรอบต้นบุนนาคยังพบเศษอิฐและกระเบื้องดินเผาโบราณกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในระดับชั้นดินอีกด้วย<ref name="สารพันบันทึกเล่าพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา">พระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี. (2560). ''''''สารพันบันทึกเล่าพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา : ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น''''''. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. ISBN 978-616-543-4522. หน้า 47-51</ref>


[[ไฟล์:Big-Boonnak tree of Wat Khung Taphao 11.jpg|thumb|150px|left|ป้ายระบุอายุต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา]]
[[ไฟล์:Big-Boonnak tree of Wat Khung Taphao 11.jpg|thumb|150px|left|ป้ายระบุอายุต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา]]


ตำนานเล่าสืบมาว่าปลูกมาตั้งแต่แรกสร้างวัด โดยเลือกปลูกอยู่ในทิศ[[ตะวันตก]]ของวัดติดริม[[แม่น้ำน่าน]]สายเก่า การปลูกไว้ในทิศดังกล่าวเป็นทิศปลูกต้นบุนนาคตามตำราโบราณ เพื่อให้อยู่คู่วัดปกป้องคุ้มครองและเป็นสิริมงคลสำหรับวัดและชาวบ้านตราบสิ้นอายุขัย ผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนล้วนเล่าสืบมารุ่นต่อรุ่นว่าเมื่อเกิดมาก็เห็นต้นบุนนาคขนาดเท่านี้แล้ว บริเวณต้นบุนนาคเมื่อประมาณ 50 ปีก่อน เคยมีต้นลั่นทม ต้นพิกุล และต้นมะม่วงใหญ่ขนาดหลายคนโอบอยู่ใกล้กัน แต่ก็ล้มลงไปนานแล้ว ปัจจุบันนอกจากต้นโพธิ์โบราณคู่วัด ต้นบุนนาคนี้เป็นต้นไม้โบราณเพียงต้นเดียวในบริเวณท่าแม่น้ำน่านเก่าที่ยังคงยืนต้นอยู่<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้"/>
ตำนานเล่าสืบมาว่า[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ปลูกถวายไว้บูชาพระรัตนตรัยตั้งแต่แรกสร้างวัด พร้อมกับต้นโพธิ์สามเส้าที่ปลูกด้านริมแม่น้ำน่านด้านทิศเหนือของวัด (ปัจจุบันเหลือเพียง 2 ต้น โดยต้นใหญ่ที่สุดเคยมีเส้นวงรอบกว่า 15 เมตร) โดยพระองค์ได้ทรงปลูกบุนนาคไว้ในทิศ[[ตะวันตก]]ของวัดติดริม[[แม่น้ำน่าน]]สายเก่า การปลูกไว้ในทิศดังกล่าวเป็นทิศปลูกต้นบุนนาคตามตำราโบราณ เพื่อให้อยู่คู่วัดปกป้องคุ้มครองและเป็นสิริมงคลสำหรับวัดและชาวบ้านตราบสิ้นอายุขัย
[[ไฟล์:Big-Boonnak tree Annual celebration 2019.jpg|thumb|150px|งานแห่ผ้าบวงสรวงรดน้ำต้นบุนนาคใหญ่คู่วัดคุ้งตะเภาประจำปี]]
ผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนล้วนเล่าสืบมารุ่นต่อรุ่นว่าเมื่อเกิดมาก็เห็นต้นบุนนาคขนาดเท่านี้แล้ว บริเวณต้นบุนนาคเมื่อประมาณ 50 ปีก่อน เคยมีต้นลั่นทม ต้นพิกุล และต้นมะม่วงใหญ่ขนาดหลายคนโอบอยู่ใกล้กัน แต่ก็ล้มลงไปนานแล้ว ปัจจุบันนอกจากต้นโพธิ์สามเส้าโบราณคู่วัด ต้นบุนนาคนี้เป็นต้นไม้โบราณเพียงต้นเดียวในบริเวณท่าแม่น้ำน่านเก่าที่ยังคงยืนต้นอยู่<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้"/>


ในช่วงก่อนน้ำท่วมใหญ่เมืองอุตรดิตถ์ ปี พ.ศ. 2493 ที่ทำให้ชาวบ้านตัดสินใจย้ายหมู่บ้านจากริมน้ำน่านขึ้นมาอยู่บนที่ราบด้านบนในระดับเดียวกับวัด ต้นบุนนาคต้นนี้เคยอยู่บริเวณหัวสะพานไม้โบราณที่ทอดข้ามบุ่งน้ำน่านเก่าไปยังบ่อน้ำโบราณของวัด ชาวบ้านจะเดินทางมาจากชุมชนริมน้ำน่าน และใช้ต้นบุนนาคนี้เป็นจุดพบปะ นั่งพักผ่อนสังสรรค์กัน ก่อนจะพาไปทำบุญในหอฉันและศาลาหลังเก่าบริเวณต้นตาลใหญ่<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้"/>
ในช่วงก่อนน้ำท่วมใหญ่เมืองอุตรดิตถ์ ปี พ.ศ. 2493 ที่ทำให้ชาวบ้านตัดสินใจย้ายหมู่บ้านจากริมน้ำน่านขึ้นมาอยู่บนที่ราบด้านบนในระดับเดียวกับวัด ต้นบุนนาคต้นนี้เคยอยู่บริเวณหัวสะพานไม้โบราณที่ทอดข้ามบุ่งน้ำน่านเก่าไปยังบ่อน้ำโบราณของวัด ชาวบ้านจะเดินทางมาจากชุมชนริมน้ำน่าน และใช้ต้นบุนนาคนี้เป็นจุดพบปะ นั่งพักผ่อนสังสรรค์กัน ก่อนจะพาไปทำบุญในหอฉันและศาลาหลังเก่าบริเวณต้นตาลใหญ่<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้"/>
บรรทัด 36: บรรทัด 40:


== อายุ ==
== อายุ ==
[[ไฟล์:Big-Boonnak tree of Wat Khung Taphao 12.jpg|thumb|150px|ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา ได้รับขึ้นทะเบียนเป็น[[รุกขมรดก]]ในปี พ.ศ. 2562]]


จากการประเมินอายุของเจ้าหน้าที่ป่าไม้สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์ และนักวิชาการด้านพฤกษศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] ซึ่งได้วัดขนาดต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภาในต้นปี พ.ศ. 2562 พบเส้นรอบวงวัดจากพื้นดิน 1.30 เมตร ตามหลักวิชาการ ได้เส้นรอบวง 3.6 เมตร ความสูง 25-30 เมตร ทรงพุ่มกว้าง 8-10 เมตร โดยคำนวณจำนวนปีของบุนนาควัดคุ้งตะเภาโดยการนำค่าประมาณตามหลักวิชาการ ได้ค่าเท่ากับ 240 ปี ใกล้เคียงกับอายุของวัดที่นับจากปีตั้งวัดคุ้งตะเภาตามหลักฐานลายลักษณ์อักษรคือ ปี พ.ศ. 2313<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้"/>
จากการประเมินอายุของเจ้าหน้าที่ป่าไม้สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์ และนักวิชาการด้านพฤกษศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยนเรศวร]] ซึ่งได้วัดขนาดต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภาในต้นปี พ.ศ. 2562 พบเส้นรอบวงวัดจากพื้นดิน 1.30 เมตร ตามหลักวิชาการ ได้เส้นรอบวง 3.6 เมตร ความสูง 25-30 เมตร ทรงพุ่มกว้าง 8-10 เมตร โดยคำนวณจำนวนปีของบุนนาควัดคุ้งตะเภาโดยการนำค่าประมาณตามหลักวิชาการ ได้ค่าเท่ากับ 240 ปี ใกล้เคียงกับอายุของวัดที่นับจากปีตั้งวัดคุ้งตะเภาตามหลักฐานลายลักษณ์อักษรคือ ปี พ.ศ. 2313<ref name="รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้"/>

[[ไฟล์:Big-Boonnak tree of Wat Khung Taphao 12.jpg|thumb|150px|ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา ได้รับขึ้นทะเบียนเป็น[[รุกขมรดก]]ในปี พ.ศ. 2562]]


== การขึ้นทะเบียน ==
== การขึ้นทะเบียน ==


ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา ได้รับการพิจารณาจาก[[กรมส่งเสริมวัฒนธรรม]] [[กระทรวงวัฒนธรรม]] ประกาศยกย่องให้เป็น 1 ใน 88 ต้นไม้[[รุกขมรดก]]ของแผ่นดิน ซึ่งมีการประกาศเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562<ref name="ประกาศ 62"/> โดยต้นบุนนาคคู่วัดคุ้งตะเภา เป็น 1 ใน 4 รุกขมรดกสำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ ต้นมเหสักข์ อายุ 1,500 ปี ในเขตพื้นที่[[อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่]] อ.[[ทองแสนขัน]] (ต้นสักใหญ่ของโลกที่ปรากฎในคำขวัญจังหวัดอุตรดิตถ์), ต้นมะค่าโมงยักษ์ 1,500 ปี ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติห้วยก้านเหลือง อ.[[ฟากท่า]], ต้นมะปรางป่า 150 ปี หน้าพระวิหาร[[วัดพระแท่นศิลาอาสน์]] อ.[[ลับแล]] โบราณสถานที่ปรากฎในตราประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ <ref>[http://www.culture.go.th/culture_th/download/patadu/cul531.PDF ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกต้นไม้ “รุกข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561]</ref>
ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา ได้รับการพิจารณาจาก[[กรมส่งเสริมวัฒนธรรม]] [[กระทรวงวัฒนธรรม]] ประกาศยกย่องให้เป็น 1 ใน 88 ต้นไม้[[รุกขมรดก]]ของแผ่นดิน โดยผ่านหลักเกณฑ์การพิจารณาให้เป็นต้นไม้รุกขมรดกที่มีคุณค่าของชาติ ทั้งในด้านอายุ ความหายาก และขนาด รวมถึงสุนทรียศาสตร์ พฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา และคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ที่มีลักษณะเฉพาะไม่เหมือนใครซึ่งไม่สามารถถูกแทนที่ได้
ซึ่งมีการประกาศขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562<ref name="ประกาศ 62"/> โดยต้นบุนนาคคู่วัดคุ้งตะเภา เป็น 1 ใน 4 รุกขมรดกสำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ ต้นมเหสักข์ อายุ 1,500 ปี ในเขตพื้นที่[[อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่]] อ.[[ทองแสนขัน]] (ต้นสักใหญ่ของโลกที่ปรากฎในคำขวัญจังหวัดอุตรดิตถ์), ต้นมะค่าโมงยักษ์ 1,500 ปี ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติห้วยก้านเหลือง อ.[[ฟากท่า]], ต้นมะปรางป่า 150 ปี หน้าพระวิหาร[[วัดพระแท่นศิลาอาสน์]] อ.[[ลับแล]] โบราณสถานที่ปรากฎในตราประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ <ref>[http://www.culture.go.th/culture_th/download/patadu/cul531.PDF ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกต้นไม้ “รุกข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:30, 16 เมษายน 2562

ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา

ชื่อต้นไม้ ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา
ชื่อท้องถิ่น บุนนาคใหญ่, บุนนาคคู่วัด,
ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา
(ชื่อที่ได้รับขึ้นทะเบียน)
สถานะ รุกขมรดกระดับชาติ
โดยกระทรวงวัฒนธรรม
(พ.ศ. 2562)[1]
ที่ตั้ง วัดคุ้งตะเภา จังหวัดอุตรดิตถ์
พิกัดภูมิศาสตร์ 17°39′14″N 100°08′22″E / 17.653906°N 100.139419°E / 17.653906; 100.139419
สปีชีส์ M. ferrea
ชื่อทวินาม Mesua ferrea
ปลูกเมื่อ พ.ศ. 2313 (ปลูกโดย
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช)
การขึ้นทะเบียน กระทรวงวัฒนธรรม
(ลำดับทะเบียน 24/2562)
เจ้าของ วัดคุ้งตะเภา
เว็บไซต์ https://sites.google.com/site/watkungtaphao/

ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ 1 ใน 4 ต้น ของจังหวัดอุตรดิตถ์ รองจากต้นมเหสักข์ (ต้นสักใหญ่ของโลก) ต้นมะค่าโมงยักษ์ อ.ฟากท่า และต้นมะปรางป่า วัดพระแท่นศิลาอาสน์ โดยต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภาได้รับประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นรุกขมรดกระดับประเทศโดยกระทรวงวัฒนธรรมในปี พ.ศ. 2562[1]เนื่องจากต้นบุนนาคนั้นเป็นไม้ยืนต้นโตช้า ต้นที่มีขนาดใหญ่เช่นนี้จึงหาชมได้ยากยิ่งในปัจจุบัน

ต้นบุนนาคนี้มีอายุประมาณ 240 ปี จากขนาดเส้นรอบวง 3-4 เมตร ความสูง 25 เมตร เป็นสัญลักษณ์แห่งราชานุสรณ์ในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตามตำนานท้องถิ่นที่เชื่อว่าทรงปลูกไว้เมื่อครั้งทรงพระราชอุทิศไม้พระตำหนักค่ายหาดสูงเพื่อทรงสร้างวัดคุ้งตะเภา หลังเอาชนะศึกชุมนุมเจ้าพระฝางได้สำเร็จใน พ.ศ. 2313 นอกจากนี้ยังได้รับยกย่องให้เป็นบุนนาคพญาในวัดที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในหัวเมืองเหนือ (Upper Siam) หรือจังหวัดในกลุ่มวัฒนธรรมสุโขทัยโบราณ เชื่อว่ามีความใหญ่เป็นรองเพียงต้นบุนนาคคู่ที่เมืองยอง รัฐฉาน ประเทศพม่า[2]


ประวัติ

บุนนาคนี้ยืนต้นอยู่ในวัดคุ้งตะเภา วัดที่มีความเก่าแก่ติด 1 ใน 9 วัดของเมืองอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นวัดในชุมชนคนไทยภาษาถิ่นสุโขทัยโบราณที่อยู่เหนือสุดในกลุ่มวัฒนธรรมหัวเมืองเหนือสมัยอยุธยา ซึ่งการปลูกต้นบุนนาคไว้ในวัดนั้น เป็นร่องรอยของขนบในการปลูกสมุนไพรเกสรทั้ง 5 ไว้ในวัดตามจารีตสุโขทัยโบราณจากหลักฐานในศิลาจารึกสุโขทัย เพื่อให้เป็นสมุนไพรรักษาโรคและเป็นต้นไม้มงคลประจำอาราม

นอกจากนั้นต้นบุนนาคนี้ตั้งอยู่ในพื้นที่ ๆ เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ บริเวณริมแม่น้ำน่านสายเก่าอันเป็นที่ตั้งวัดคุ้งตะเภาเดิมในสมัยธนบุรี ซึ่งเป็นเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเมื่อคราวยกทัพมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝาง ในตำบลที่ตั้งพลับพลารับเสด็จพระตำหนักค่ายหาดสูงตามพระราชพงศาวดาร[3] วัดคุ้งตะเภาปรากฏหลักฐานการสร้างวัดในปีเดียวกันนั้นหลังการชำระสงฆ์คราวปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง ใน พ.ศ. 2313[4] และในบริเวณโดยรอบต้นบุนนาคยังพบเศษอิฐและกระเบื้องดินเผาโบราณกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในระดับชั้นดินอีกด้วย[5]

ป้ายระบุอายุต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา

ตำนานเล่าสืบมาว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปลูกถวายไว้บูชาพระรัตนตรัยตั้งแต่แรกสร้างวัด พร้อมกับต้นโพธิ์สามเส้าที่ปลูกด้านริมแม่น้ำน่านด้านทิศเหนือของวัด (ปัจจุบันเหลือเพียง 2 ต้น โดยต้นใหญ่ที่สุดเคยมีเส้นวงรอบกว่า 15 เมตร) โดยพระองค์ได้ทรงปลูกบุนนาคไว้ในทิศตะวันตกของวัดติดริมแม่น้ำน่านสายเก่า การปลูกไว้ในทิศดังกล่าวเป็นทิศปลูกต้นบุนนาคตามตำราโบราณ เพื่อให้อยู่คู่วัดปกป้องคุ้มครองและเป็นสิริมงคลสำหรับวัดและชาวบ้านตราบสิ้นอายุขัย

งานแห่ผ้าบวงสรวงรดน้ำต้นบุนนาคใหญ่คู่วัดคุ้งตะเภาประจำปี

ผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนล้วนเล่าสืบมารุ่นต่อรุ่นว่าเมื่อเกิดมาก็เห็นต้นบุนนาคขนาดเท่านี้แล้ว บริเวณต้นบุนนาคเมื่อประมาณ 50 ปีก่อน เคยมีต้นลั่นทม ต้นพิกุล และต้นมะม่วงใหญ่ขนาดหลายคนโอบอยู่ใกล้กัน แต่ก็ล้มลงไปนานแล้ว ปัจจุบันนอกจากต้นโพธิ์สามเส้าโบราณคู่วัด ต้นบุนนาคนี้เป็นต้นไม้โบราณเพียงต้นเดียวในบริเวณท่าแม่น้ำน่านเก่าที่ยังคงยืนต้นอยู่[2]

ในช่วงก่อนน้ำท่วมใหญ่เมืองอุตรดิตถ์ ปี พ.ศ. 2493 ที่ทำให้ชาวบ้านตัดสินใจย้ายหมู่บ้านจากริมน้ำน่านขึ้นมาอยู่บนที่ราบด้านบนในระดับเดียวกับวัด ต้นบุนนาคต้นนี้เคยอยู่บริเวณหัวสะพานไม้โบราณที่ทอดข้ามบุ่งน้ำน่านเก่าไปยังบ่อน้ำโบราณของวัด ชาวบ้านจะเดินทางมาจากชุมชนริมน้ำน่าน และใช้ต้นบุนนาคนี้เป็นจุดพบปะ นั่งพักผ่อนสังสรรค์กัน ก่อนจะพาไปทำบุญในหอฉันและศาลาหลังเก่าบริเวณต้นตาลใหญ่[2]

ปัจจุบันหลังแม่น้ำน่านเปลี่ยนเส้นทางห่างจากท่าน้ำวัดเดิมไปกว่า 1 กิโลเมตร และมีการตัดถนนสายเอเชียในประมาณ พ.ศ. 2520 ทำให้หน้าวัดกลายเป็นหลังวัด ต้นบุนนาคหน้าวัดจึงเปลี่ยนสถานะมาอยู่หลังวัด พร้อม ๆ กับการสิ้นสุดเส้นทางสัญจรทางน้ำ และทางบกโบราณ เส้นเลียบน้ำน่าน บุ่งวังงิ้ว-พระฝาง ที่เคยใช้สัญจรกันมาตั้งแต่สมัยธนบุรี เหลือเพียงเรื่องเล่าในความทรงจำของปู่ย่าตายาย และต้นบุนนาคโบราณที่ยังยืนต้นเป็นประจักษ์พยานความเก่าแก่ทรงคุณค่าของชุมชนและวัดคุ้งตะเภามาจนปัจจุบัน[5]

อายุ

จากการประเมินอายุของเจ้าหน้าที่ป่าไม้สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุตรดิตถ์ และนักวิชาการด้านพฤกษศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งได้วัดขนาดต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภาในต้นปี พ.ศ. 2562 พบเส้นรอบวงวัดจากพื้นดิน 1.30 เมตร ตามหลักวิชาการ ได้เส้นรอบวง 3.6 เมตร ความสูง 25-30 เมตร ทรงพุ่มกว้าง 8-10 เมตร โดยคำนวณจำนวนปีของบุนนาควัดคุ้งตะเภาโดยการนำค่าประมาณตามหลักวิชาการ ได้ค่าเท่ากับ 240 ปี ใกล้เคียงกับอายุของวัดที่นับจากปีตั้งวัดคุ้งตะเภาตามหลักฐานลายลักษณ์อักษรคือ ปี พ.ศ. 2313[2]

ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นรุกขมรดกในปี พ.ศ. 2562

การขึ้นทะเบียน

ต้นบุนนาควัดคุ้งตะเภา ได้รับการพิจารณาจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประกาศยกย่องให้เป็น 1 ใน 88 ต้นไม้รุกขมรดกของแผ่นดิน โดยผ่านหลักเกณฑ์การพิจารณาให้เป็นต้นไม้รุกขมรดกที่มีคุณค่าของชาติ ทั้งในด้านอายุ ความหายาก และขนาด รวมถึงสุนทรียศาสตร์ พฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา และคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ที่มีลักษณะเฉพาะไม่เหมือนใครซึ่งไม่สามารถถูกแทนที่ได้

ซึ่งมีการประกาศขึ้นทะเบียนเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562[1] โดยต้นบุนนาคคู่วัดคุ้งตะเภา เป็น 1 ใน 4 รุกขมรดกสำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ ต้นมเหสักข์ อายุ 1,500 ปี ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อ.ทองแสนขัน (ต้นสักใหญ่ของโลกที่ปรากฎในคำขวัญจังหวัดอุตรดิตถ์), ต้นมะค่าโมงยักษ์ 1,500 ปี ในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติห้วยก้านเหลือง อ.ฟากท่า, ต้นมะปรางป่า 150 ปี หน้าพระวิหารวัดพระแท่นศิลาอาสน์ อ.ลับแล โบราณสถานที่ปรากฎในตราประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ [6]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกต้นไม้ " รุกข มรดกของแผ่นดิน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 ________. (2562). รายงานการสำรวจข้อมูลต้นไม้ "รุกข มรดกของแผ่นดิน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. อุตรดิตถ์ : สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์. (อัดสำเนา).
  3. ธีระวัฒน์ แสนคำ. (2558). 'สวางคบุรีศรีคุ้งตะเภา : สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับสมรภูมิสวางคบุรี-คุ้งตะเภา อนุสรณ์ 245 ปี แห่งการสถาปนาวัดคุ้งตะเภา'. อุตรดิตถ์ : สำนักงานสภาวัฒนธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ กระทรวงวัฒนธรรม. ISBN 978-616-543-334-1 หน้า 78-79
  4. กรมการศาสนา. (2531). ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม ๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. หน้า 34.
  5. 5.0 5.1 พระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี. (2560). 'สารพันบันทึกเล่าพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดคุ้งตะเภา : ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น'. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. ISBN 978-616-543-4522. หน้า 47-51
  6. ประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกต้นไม้ “รุกข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ดูเพิ่ม