ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคเรวะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เเก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


'''ยุคเรวะ''' ({{ญี่ปุ่น|令和時代|Reiwa jidai}}) เป็น[[ศักราชของญี่ปุ่น]]ยุคต่อไป โดยรัชศกเรวะจะเริ่มต้นในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 โดยเริ่มนับจากวันที่[[สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ]] พระราชโอรสของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]] ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิลำดับที่ 126 ในวันหลัง[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]]สละราชบัลลังก์ในวันที่ 30 เมษายน ซึ่งถือเป็นวันสิ้นสุดของ[[ยุคเฮเซ]]<ref>{{Cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-japan-emperor-idUSKCN1RD13X|title=New Japanese imperial era Reiwa takes name from ancient poetry|date=2019-04-01|work=Reuters|access-date=2019-04-01|language=en}}</ref> โดยนามรัชศกเรวะได้มีการประกาศเผยแพร่ต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2019 โดยนาย [[โยชิฮิเดะ ซูงะ]] เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้เป็นผู้ประกาศนามรัชศกในครั้งนี้
'''ยุคเรวะ''' ({{ญี่ปุ่น|令和時代|Reiwa jidai}}) เป็น[[ศักราชของญี่ปุ่น]]ยุคต่อไป โดยรัชศกเรวะจะเริ่มต้นในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 โดยเริ่มนับจากวันที่[[สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ]] พระราชโอรสของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]] ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิลำดับที่ 126 ในวันหลัง[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]]สละราชบัลลังก์ในวันที่ 30 เมษายน ซึ่งถือเป็นวันสิ้นสุดของ[[ยุคเฮเซ]]<ref>{{Cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-japan-emperor-idUSKCN1RD13X|title=New Japanese imperial era Reiwa takes name from ancient poetry|date=2019-04-01|work=Reuters|access-date=2019-04-01|language=en}}</ref> โดยนามรัชศกเรวะได้มีการประกาศเผยแพร่ต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2019 โดยนาย [[โยชิฮิเดะ ซูงะ]] เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้เป็นผู้ประกาศนามรัชศกในครั้งนี้
รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศรัชสมัยใหม่ [[เรวะ]] เพื่อต้อนรับรัชสมัยของสมเด็จจักรพรรดิพระองค์ใหม่ โดยเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 1 พฤษภาคม ซึ่งเป็นวันที่สมเด็จจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์ นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นการสิ้นสุดของยุครัชสมัย [[เฮเซ]] ที่มีระยะเวลายาวนานกว่า 30 ปีอีกด้วย

[[โยชิฮิเดะ ซูงะ]] เลขาธิการรัฐมนตรีญี่ปุ่น ได้อธิบายถึงชื่อของรัชสมัยใหม่ โดยคำว่า “เร” หมายถึง ความรุ่งเรืองหรือคำสั่ง ส่วนคำว่า “วะ” หมายถึง สันติภาพหรือความสามัคคี

นอกจากนี้การตั้งชื่อรัชสมัยยังเป็นครั้งแรกที่นำตัวอักษรจากกวีโบราณของญี่ปุ่น มารวมกับอักษรคันจิยุคจีนโบราณ โดยในการตั้งชื่อรัชสมัยในครั้งนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นได้ใช้ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ถึง 9 คน ค้นหาชื่อที่เหมาะสม นอกจากนี้ถ้าหากมีชื่อรัชสมัยใดเล็ดลอดออกมาก็จะยกเลิกชื่อนั้นและหาชื่อใหม่ ก่อนที่จะประกาศอย่างเป็นทางการ โดยก่อนหน้านี้มีข่าวลือว่ารัชสมัยใหม่จะใช้คำว่า “อังคิว” ที่แปลว่า สันติสุขและความยั่งยืน

[[ชินโซ อาเบะ]] นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ได้กล่าวถึงการตั้งชื่อรัชสมัยใหม่ว่า “เป็นการแสดงถึงวัฒนธรรมที่ลึกซึ้งของชาวญี่ปุ่น แม้ว่าประเทศญี่ปุ่นจะพบกับจุดเปลี่ยนของประเทศครั้งใหญ่ (สื่อถึงความเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง) แต่คุณค่าและวัฒนธรรมของญี่ปุ่นจะไม่จางหายไปไหน” ซึ่งประเพณีการตั้งชื่อรัชสมัยนี้ยังมีมานานถึง 1,300 ปีอีกด้วย


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:28, 2 เมษายน 2562

นายโยชิฮิเดะ ซูงะ เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกำลังแสดงนามรัชศกใหม่ต่อสื่อมวลชน

ยุคเรวะ (ญี่ปุ่น: 令和時代โรมาจิReiwa jidai) เป็นศักราชของญี่ปุ่นยุคต่อไป โดยรัชศกเรวะจะเริ่มต้นในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 โดยเริ่มนับจากวันที่สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ พระราชโอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิลำดับที่ 126 ในวันหลังสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสละราชบัลลังก์ในวันที่ 30 เมษายน ซึ่งถือเป็นวันสิ้นสุดของยุคเฮเซ[1] โดยนามรัชศกเรวะได้มีการประกาศเผยแพร่ต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2019 โดยนาย โยชิฮิเดะ ซูงะ เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้เป็นผู้ประกาศนามรัชศกในครั้งนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศรัชสมัยใหม่ เรวะ เพื่อต้อนรับรัชสมัยของสมเด็จจักรพรรดิพระองค์ใหม่ โดยเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 1 พฤษภาคม ซึ่งเป็นวันที่สมเด็จจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์ นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นการสิ้นสุดของยุครัชสมัย เฮเซ ที่มีระยะเวลายาวนานกว่า 30 ปีอีกด้วย

โยชิฮิเดะ ซูงะ เลขาธิการรัฐมนตรีญี่ปุ่น ได้อธิบายถึงชื่อของรัชสมัยใหม่ โดยคำว่า “เร” หมายถึง ความรุ่งเรืองหรือคำสั่ง ส่วนคำว่า “วะ” หมายถึง สันติภาพหรือความสามัคคี

นอกจากนี้การตั้งชื่อรัชสมัยยังเป็นครั้งแรกที่นำตัวอักษรจากกวีโบราณของญี่ปุ่น มารวมกับอักษรคันจิยุคจีนโบราณ โดยในการตั้งชื่อรัชสมัยในครั้งนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นได้ใช้ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ถึง 9 คน ค้นหาชื่อที่เหมาะสม นอกจากนี้ถ้าหากมีชื่อรัชสมัยใดเล็ดลอดออกมาก็จะยกเลิกชื่อนั้นและหาชื่อใหม่ ก่อนที่จะประกาศอย่างเป็นทางการ โดยก่อนหน้านี้มีข่าวลือว่ารัชสมัยใหม่จะใช้คำว่า “อังคิว” ที่แปลว่า สันติสุขและความยั่งยืน

ชินโซ อาเบะ นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ได้กล่าวถึงการตั้งชื่อรัชสมัยใหม่ว่า “เป็นการแสดงถึงวัฒนธรรมที่ลึกซึ้งของชาวญี่ปุ่น แม้ว่าประเทศญี่ปุ่นจะพบกับจุดเปลี่ยนของประเทศครั้งใหญ่ (สื่อถึงความเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง) แต่คุณค่าและวัฒนธรรมของญี่ปุ่นจะไม่จางหายไปไหน” ซึ่งประเพณีการตั้งชื่อรัชสมัยนี้ยังมีมานานถึง 1,300 ปีอีกด้วย

อ้างอิง

  1. "New Japanese imperial era Reiwa takes name from ancient poetry". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2019-04-01. สืบค้นเมื่อ 2019-04-01.