ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คีตา เรคคอร์ดส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล บริษัทบันทึกเสียง
| ชื่อ = คีตา เรคคอร์ดส
| ชื่ออังกฤษ = KITA Records
| ภาพ =
| บริษัทแม่ =
| ก่อตั้ง = [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2529]]
| ผู้ก่อตั้ง =
| สาขา =
| ทุนจดทะเบียน =
| เลขทะเบียน =
| บุคลากรหลัก =
| แนวเพลง = [[ป็อป]]
| ประเทศต้นกำเนิด = {{THA}}
| สถานที่ =
| ผู้จัดจำหน่าย =
| เว็บไซต์ทางการ =
| Misc =
}}

'''คีตา เรคคอร์ดส''' เป็นชื่อของอดีตค่ายเพลงค่ายหนึ่งใน[[ประเทศไทย]] ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2529]] และอัลบั้มชุดแรกของค่ายออกวางแผงเมื่อเดือน[[มกราคม]] [[พ.ศ. 2530]] คืออัลบั้ม [[ดนตรีออกเดิน]] ของ [[หนุ่มเสก]] โดย [[สมพงษ์ วรรณภิญโญ]] (สมพงษ์ วิศิษฐ์วานิชย์) [[ลาวัลย์ ชูพินิจ]] และ [[จำนรรค์ อัษฎามงคล]] จาก [[เจเอสแอล]] เป็นผู้ก่อตั้ง มี [[วรชัย ธรรมสังคีติ]] จากบริษัท [[เมโทรแผ่นเสียงและเทป]] และ [[ประภาส ชลศรานนท์]] ร่วมเป็นหุ้นส่วน บริหารงานโดย สมพงษ์ และ [[ประภาส ชลศรานนท์]] โดยตอนนั้นใช้ชื่อว่า '''บริษัท คีตา แผ่นเสียงและเทป จำกัด''' และในวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2532]] คีตาประกาศแยกตัวจาก [[เจเอสแอล]] มาบริหารเองจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''คีตา เรคคอร์ดส'''ในยุคของ [[ประภาส ชลศรานนท์]],[[สมพงษ์ วรรณภิญโญ]] , '''คีตา เอ็นเทอร์เทนเม้นท์'''ในยุคของ [[ไพวงษ์ เตชะณรงค์]], [[แสงชัย อภิชาติวรพงษ์]] และ '''คีตามิวสิค''' ในยุคของ  [[วิโรจน์ ปรีชาว่องไวกุล]] ในช่วงสั้น ๆ ไม่กี่เดือน ก่อนจะปิดกิจการไป ตามลำดับ (ในสมัยนั้นประเทศไทยจะมีค่ายเพลงใหญ่ อยู่ 4 ค่าย คือ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|แกรมมี่]] คีตา [[อาร์เอส]] และ [[นิธิทัศน์ โปรโมชั่น]])
'''คีตา เรคคอร์ดส''' เป็นชื่อของอดีตค่ายเพลงค่ายหนึ่งใน[[ประเทศไทย]] ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2529]] และอัลบั้มชุดแรกของค่ายออกวางแผงเมื่อเดือน[[มกราคม]] [[พ.ศ. 2530]] คืออัลบั้ม [[ดนตรีออกเดิน]] ของ [[หนุ่มเสก]] โดย [[สมพงษ์ วรรณภิญโญ]] (สมพงษ์ วิศิษฐ์วานิชย์) [[ลาวัลย์ ชูพินิจ]] และ [[จำนรรค์ อัษฎามงคล]] จาก [[เจเอสแอล]] เป็นผู้ก่อตั้ง มี [[วรชัย ธรรมสังคีติ]] จากบริษัท [[เมโทรแผ่นเสียงและเทป]] และ [[ประภาส ชลศรานนท์]] ร่วมเป็นหุ้นส่วน บริหารงานโดย สมพงษ์ และ [[ประภาส ชลศรานนท์]] โดยตอนนั้นใช้ชื่อว่า '''บริษัท คีตา แผ่นเสียงและเทป จำกัด''' และในวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2532]] คีตาประกาศแยกตัวจาก [[เจเอสแอล]] มาบริหารเองจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''คีตา เรคคอร์ดส'''ในยุคของ [[ประภาส ชลศรานนท์]],[[สมพงษ์ วรรณภิญโญ]] , '''คีตา เอ็นเทอร์เทนเม้นท์'''ในยุคของ [[ไพวงษ์ เตชะณรงค์]], [[แสงชัย อภิชาติวรพงษ์]] และ '''คีตามิวสิค''' ในยุคของ  [[วิโรจน์ ปรีชาว่องไวกุล]] ในช่วงสั้น ๆ ไม่กี่เดือน ก่อนจะปิดกิจการไป ตามลำดับ (ในสมัยนั้นประเทศไทยจะมีค่ายเพลงใหญ่ อยู่ 4 ค่าย คือ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|แกรมมี่]] คีตา [[อาร์เอส]] และ [[นิธิทัศน์ โปรโมชั่น]])



รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:50, 24 ธันวาคม 2560

คีตา เรคคอร์ดส

คีตา เรคคอร์ดส เป็นชื่อของอดีตค่ายเพลงค่ายหนึ่งในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2529 และอัลบั้มชุดแรกของค่ายออกวางแผงเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2530 คืออัลบั้ม ดนตรีออกเดิน ของ หนุ่มเสก โดย สมพงษ์ วรรณภิญโญ (สมพงษ์ วิศิษฐ์วานิชย์) ลาวัลย์ ชูพินิจ และ จำนรรค์ อัษฎามงคล จาก เจเอสแอล เป็นผู้ก่อตั้ง มี วรชัย ธรรมสังคีติ จากบริษัท เมโทรแผ่นเสียงและเทป และ ประภาส ชลศรานนท์ ร่วมเป็นหุ้นส่วน บริหารงานโดย สมพงษ์ และ ประภาส ชลศรานนท์ โดยตอนนั้นใช้ชื่อว่า บริษัท คีตา แผ่นเสียงและเทป จำกัด และในวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2532 คีตาประกาศแยกตัวจาก เจเอสแอล มาบริหารเองจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น คีตา เรคคอร์ดสในยุคของ ประภาส ชลศรานนท์,สมพงษ์ วรรณภิญโญ , คีตา เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ในยุคของ ไพวงษ์ เตชะณรงค์, แสงชัย อภิชาติวรพงษ์ และ คีตามิวสิค ในยุคของ  วิโรจน์ ปรีชาว่องไวกุล ในช่วงสั้น ๆ ไม่กี่เดือน ก่อนจะปิดกิจการไป ตามลำดับ (ในสมัยนั้นประเทศไทยจะมีค่ายเพลงใหญ่ อยู่ 4 ค่าย คือ แกรมมี่ คีตา อาร์เอส และ นิธิทัศน์ โปรโมชั่น)

และในวันที่ 1-2-3 เมษายน พ.ศ. 2537 คีตา เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ ได้จัดการแสดงรถบิ๊กฟุตขึ้นมาเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ที่สนามกีฬากองทัพบก และมีการแสดงคอนเสิร์ตโดยศิลปินร็อกในสังกัด คือ พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง และ บิลลี่ โอแกน[1]

ปัจจุบัน คีตามิวสิค ได้ปิดกิจการลงไปแล้ว โดยได้ขายลิขสิทธิ์เพลงของคีตาให้กับ บริษัท ไรท์บียอนด์ จำกัด ประภาส ชลศรานนท์ ไปก่อตั้งมูเซอร์ เรคคอร์ดสและบริหารบริษัท เวิร์คพอยท์ ส่วน สมพงษ์ วรรณภิญโญ ไปก่อตั้งบริษัท ทีวี ธันเดอร์

ศิลปินในค่ายที่มีชื่อเสียง

อ้างอิง