ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติเดือนตุลาคม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| territory =
| territory =
| result = * ทำให้เกิด [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]]
| result = * ทำให้เกิด [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]]
* จุดสิ้นสุดของ [[รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซีย|รัฐบาลเฉพาะกาล]]แห่ง[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]
* จุดสิ้นสุดของ [[รัฐบาลชั่วคราวรัสเซีย|รัฐบาลชั่วคราว]]แห่ง[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]
* จุดเริ่มต้นของ [[สงครามกลางเมืองรัสเซีย]]
* จุดเริ่มต้นของ [[สงครามกลางเมืองรัสเซีย]]
* [[สภาสูงสุดโซเวียต]] มีอำนาจแทนในการปกครองสหภาพโซเวียต
* [[สภาสูงสุดโซเวียต]] มีอำนาจแทนในการปกครองสหภาพโซเวียต
| combatant1 = <small>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[คณะกรรมการบริหารรัสเซียกลาง]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[กองทัพแดง (รัสเซีย)|กองทัพแดง]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[สภาโซเวียตเปโตรกราด]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]] (ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน)</small>
| combatant1 = <small>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[คณะกรรมการบริหารรัสเซียกลาง]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[กองทัพแดง (รัสเซีย)|กองทัพแดง]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[สภาโซเวียตเปโตรกราด]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]] (ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน)</small>
| combatant2 = <small>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[สาธารณรัฐรัสเซีย]] (ถึง 7 พฤศจิกายน)<br>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[รัฐบาเฉพาะกาลรัสเซีย]] (ถึง 8 พฤศจิกายน)</small>
| combatant2 = <small>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[สาธารณรัฐรัสเซีย]] (ถึง 7 พฤศจิกายน)<br>{{flagicon image|Flag of Russia.svg}} [[รัฐบาชั่วคราวรัสเซีย]] (ถึง 8 พฤศจิกายน)</small>
| commander1 = {{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[วลาดิเมียร์ เลนิน]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[เลออน ทรอตสกี]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[พาเวล ไดเบโก้]]
| commander1 = {{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[วลาดิเมียร์ เลนิน]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[เลออน ทรอตสกี]]<br>{{flagicon image|Socialist red flag.svg}} [[พาเวล ไดเบโก้]]
| commander2 = {{Flag icon|Russia}} [[อเล็กซานเดอร์ เคเรนสกี้]]
| commander2 = {{Flag icon|Russia}} [[อเล็กซานเดอร์ เคเรนสกี้]]
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
'''การปฏิวัติเดือนตุลาคม''' ({{lang-en|October Revolution}}, {{lang-ru|Октя́брьская револю́ция}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''การปฏิวัติสังคมนิยมใหญ่เดือนตุลาคม''' ({{lang-en|Great October Socialist Revolution}}, {{lang-ru|Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция}}) และเรียกโดยทั่วไปว่า '''ตุลาคมแดง''', '''การลุกฮือเดือนตุลาคม''' หรือ '''การปฏิวัติบอลเชวิก''' เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของ[[การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917]] ลักษณะเหตุการณ์เป็นการก่อการกบฏด้วยอาวุธในกรุง[[เปโตรกราด]]เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ([[ปฏิทินจูเลียน]]หรือปฏิทินแบบเก่า ซึ่งตรงกับวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 ใน[[ปฏิทินเกรโกเรียน]]หรือปฏิทินแบบใหม่) เมื่อ[[เรือลาดตระเวนรัสเซียอะวโรระ|เรือลาดตระเวนอะวโรระ]]ยิงปืนใหญ่เพื่อบอกสัญญาณให้พวกบอลเชวิกยึดสถานที่สำคัญในเปโตรกราด
'''การปฏิวัติเดือนตุลาคม''' ({{lang-en|October Revolution}}, {{lang-ru|Октя́брьская револю́ция}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''การปฏิวัติสังคมนิยมใหญ่เดือนตุลาคม''' ({{lang-en|Great October Socialist Revolution}}, {{lang-ru|Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция}}) และเรียกโดยทั่วไปว่า '''ตุลาคมแดง''', '''การลุกฮือเดือนตุลาคม''' หรือ '''การปฏิวัติบอลเชวิก''' เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของ[[การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917]] ลักษณะเหตุการณ์เป็นการก่อการกบฏด้วยอาวุธในกรุง[[เปโตรกราด]]เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ([[ปฏิทินจูเลียน]]หรือปฏิทินแบบเก่า ซึ่งตรงกับวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 ใน[[ปฏิทินเกรโกเรียน]]หรือปฏิทินแบบใหม่) เมื่อ[[เรือลาดตระเวนรัสเซียอะวโรระ|เรือลาดตระเวนอะวโรระ]]ยิงปืนใหญ่เพื่อบอกสัญญาณให้พวกบอลเชวิกยึดสถานที่สำคัญในเปโตรกราด


เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดหลังจาก[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]]ในปีเดียวกัน การปฏิวัติดังกล่าวในกรุงเปโตรกราดโค่น[[รัฐบาลเฉพาะกาลรัสเซีย]]และให้อำนาจแก่ชาวโซเวียตท้องถิ่นซึ่งมี[[บอลเชวิก]]ครอบงำ หลังจากการปฏิวัติได้มีการสถาปนา[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]]ทันที นับเป็นประเทศแรกที่ประกาศตนว่าเป็นรัฐสังคมนิยม เนื่องจากการปฏิวัติดังกล่าวมิได้รับการยอมรับนอกกรุงเปโตรกราดจึงเกิด[[สงครามกลางเมืองรัสเซีย]] (ค.ศ. 1917 – 1922) ตามมา และมีการสถาปนา[[สหภาพโซเวียต]]ในปี ค.ศ. 1922
เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดหลังจาก[[การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์]]ในปีเดียวกัน การปฏิวัติดังกล่าวในกรุงเปโตรกราดโค่น[[รัฐบาลชั่วคราวรัสเซีย]]และให้อำนาจแก่ชาวโซเวียตท้องถิ่นซึ่งมี[[บอลเชวิก]]ครอบงำ หลังจากการปฏิวัติได้มีการสถาปนา[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]]ทันที นับเป็นประเทศแรกที่ประกาศตนว่าเป็นรัฐสังคมนิยม เนื่องจากการปฏิวัติดังกล่าวมิได้รับการยอมรับนอกกรุงเปโตรกราดจึงเกิด[[สงครามกลางเมืองรัสเซีย]] (ค.ศ. 1917 – 1922) ตามมา และมีการสถาปนา[[สหภาพโซเวียต]]ในปี ค.ศ. 1922


การปฏิวัติดังกล่าวมีบอลเชวิกเป็นผู้นำ ซึ่งใช้อิทธิพลใน[[สภาโซเวียตเปโตรกราด]]เพื่อจัดระเบียบกองทัพ กำลังองครักษ์แดงบอลเชวิก ภายใต้คณะกรรมาธิการปฏิวัติทหาร เริ่มยึดที่ทำการรัฐบาลในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1917 (แบบเก่า) วันรุ่งขึ้น [[พระราชวังฤดูหนาว]] (ที่ทำการรัฐบาลเฉพาะกาลซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเปโตรกราด) จึงถูกยึด
การปฏิวัติดังกล่าวมีบอลเชวิกเป็นผู้นำ ซึ่งใช้อิทธิพลใน[[สภาโซเวียตเปโตรกราด]]เพื่อจัดระเบียบกองทัพ กำลังองครักษ์แดงบอลเชวิก ภายใต้คณะกรรมาธิการปฏิวัติทหาร เริ่มยึดที่ทำการรัฐบาลในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1917 (แบบเก่า) วันรุ่งขึ้น [[พระราชวังฤดูหนาว]] (ที่ทำการรัฐบาลชั่วคราวซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเปโตรกราด) จึงถูกยึด
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Russian Revolution of 1917}}
{{Commons category|Russian Revolution of 1917}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:05, 16 มกราคม 2560

การปฏิวัติเดือนตุลาคม
ส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917, การปฏิวัติ ค.ศ. 1917–23 และ สงครามกลางเมืองรัสเซีย

พวกบอลเชวิกที่ท้องถนนในเปโตรกราด
วันที่7–8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917
สถานที่
ผล
คู่สงคราม
คณะกรรมการบริหารรัสเซียกลาง
กองทัพแดง
สภาโซเวียตเปโตรกราด
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน)
สาธารณรัฐรัสเซีย (ถึง 7 พฤศจิกายน)
รัฐบาชั่วคราวรัสเซีย (ถึง 8 พฤศจิกายน)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
วลาดิเมียร์ เลนิน
เลออน ทรอตสกี
พาเวล ไดเบโก้
รัสเซีย อเล็กซานเดอร์ เคเรนสกี้
กำลัง
กะลาสี 10,000 คน, ทหารกองทัพแดง 20,000 – 30,000 คน ทหารอาสา 500 – 1,000 คน, กองพันทหารหญิง 1,000 คน
ความสูญเสีย
ทหารได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ไม่มีใครได้รับบาดเจ็บ

การปฏิวัติเดือนตุลาคม (อังกฤษ: October Revolution, รัสเซีย: Октя́брьская револю́ция) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การปฏิวัติสังคมนิยมใหญ่เดือนตุลาคม (อังกฤษ: Great October Socialist Revolution, รัสเซีย: Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция) และเรียกโดยทั่วไปว่า ตุลาคมแดง, การลุกฮือเดือนตุลาคม หรือ การปฏิวัติบอลเชวิก เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917 ลักษณะเหตุการณ์เป็นการก่อการกบฏด้วยอาวุธในกรุงเปโตรกราดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 (ปฏิทินจูเลียนหรือปฏิทินแบบเก่า ซึ่งตรงกับวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 ในปฏิทินเกรโกเรียนหรือปฏิทินแบบใหม่) เมื่อเรือลาดตระเวนอะวโรระยิงปืนใหญ่เพื่อบอกสัญญาณให้พวกบอลเชวิกยึดสถานที่สำคัญในเปโตรกราด

เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดหลังจากการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน การปฏิวัติดังกล่าวในกรุงเปโตรกราดโค่นรัฐบาลชั่วคราวรัสเซียและให้อำนาจแก่ชาวโซเวียตท้องถิ่นซึ่งมีบอลเชวิกครอบงำ หลังจากการปฏิวัติได้มีการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียทันที นับเป็นประเทศแรกที่ประกาศตนว่าเป็นรัฐสังคมนิยม เนื่องจากการปฏิวัติดังกล่าวมิได้รับการยอมรับนอกกรุงเปโตรกราดจึงเกิดสงครามกลางเมืองรัสเซีย (ค.ศ. 1917 – 1922) ตามมา และมีการสถาปนาสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1922

การปฏิวัติดังกล่าวมีบอลเชวิกเป็นผู้นำ ซึ่งใช้อิทธิพลในสภาโซเวียตเปโตรกราดเพื่อจัดระเบียบกองทัพ กำลังองครักษ์แดงบอลเชวิก ภายใต้คณะกรรมาธิการปฏิวัติทหาร เริ่มยึดที่ทำการรัฐบาลในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1917 (แบบเก่า) วันรุ่งขึ้น พระราชวังฤดูหนาว (ที่ทำการรัฐบาลชั่วคราวซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเปโตรกราด) จึงถูกยึด

แหล่งข้อมูลอื่น