ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มนตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
|-
|-
| [[นิชิเร็ง]] || [[นัม เมียวโฮ เร็งเงะ เคียว]]
| [[นิชิเร็ง]] || [[นัม เมียวโฮ เร็งเงะ เคียว]]
|-
|}

== ศาสนาฮินดู ==

{|class="wikitable" style="text-align:center"
|-
| '''นิกาย''' || '''มนตร์'''
|-
| [[ลัทธิไศวะ]] || โอมฺ นมะ ศิวาย ॐ नमः शिवाय
|-
| [[ลัทธิไวษณพ]] || โอมฺ วิษฺณเว นมะ ॐ विष्णवे नमः
|-
| [[พระพิฆเนศ|ลัทธิคเณศ]] || โอมฺ ศรี คเณศาย นมะ ॐ श्री गणेशाय नमः
|-
|-
|}
|}


== ลัทธิอนุตตรธรรม ==
== ลัทธิอนุตตรธรรม ==
[[ลัทธิอนุตตรธรรม]]เรียกมนตร์ว่า'''รหัสคาถา''' หรือ '''สัจจคาถา''' ({{lang-zh|口訣}}) และเชื่อว่า[[พระแม่องค์ธรรม]]ได้แบ่งยุคสว่างออกเป็น[[ยุค#ลัทธิอนุตตรธรรม|สามยุค]] ในแต่ละยุค พระแม่จะมอบหมายให้[[พระพุทธเจ้า]]เป็นผู้ปกครองและมีรหัสคาถากำหนดไว้แตกต่างกันไป ดังต่อไปนี้<ref name="สายทอง (พงศาธรรม ๑)">สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 24-40</ref>
[[ลัทธิอนุตตรธรรม]]เรียกมนตร์ว่า'''รหัสคาถา''' หรือ '''สัจจคาถา''' ({{lang-zh|口訣}}) และเชื่อว่า[[พระแม่องค์ธรรม]]ได้แบ่งธรรมกาลออกเป็น 3 [[ยุค]] เรียกว่า[[ยุคสามกัปสุดท้าย]] ในแต่ละยุค พระแม่จะมอบหมายให้[[พระพุทธเจ้า]]เป็นผู้ปกครองและมีรหัสคาถากำหนดไว้แตกต่างกันไป ดังต่อไปนี้<ref name="สายทอง (พงศาธรรม ๑)">สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 24-40</ref>


{|class="wikitable" style="text-align:center"
{|class="wikitable" style="text-align:center"
บรรทัด 25: บรรทัด 39:
| ยุคเขียว || 1886 ปี || [[พระทีปังกรพุทธเจ้า]] || อู๋เลี่ยงโซ่วฝอ
| ยุคเขียว || 1886 ปี || [[พระทีปังกรพุทธเจ้า]] || อู๋เลี่ยงโซ่วฝอ
|-
|-
| ยุคแดง || 3,140 || [[พระศากยมุนีพุทธเจ้า]] || หนันอู๋อาหมีเล่อ
| ยุคแดง || 3,140 || [[พระศากยมุนีพุทธเจ้า]] || หนันอู๋อาหมีถัวฝอ
|-
|-
| ยุคขาว || 10,800 ปี || [[พระศรีอริยเมตไตรย]] || อู๋ไท่ฝอหมีเล่อ
| ยุคขาว || 10,800 ปี || [[พระศรีอริยเมตไตรย]] || อู๋ไท่ฝอหมีเล่อ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:02, 7 กุมภาพันธ์ 2557

มนตร์ (สันสกฤต: मन्त्र) หรือ มนต์ (บาลี: manta) คำศักดิ์สิทธิ์หรือคำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล[1] พบในศาสนาแบบอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ศาสนาซิกข์ โดยทั่วไปมักเป็นคำสรรเสริญสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ศาสนาพุทธ

ในศาสนาพุทธ มีการใช้มนต์ในหลายนิกาย ในแต่ละนิกายมีมนต์สำคัญดังนี้

นิกาย มนตร์
วัชรยาน โอมฺ มณิ ปทฺเม หูมฺ
สุขาวดี โอมฺ อมิตาภ หฺรีะ
นิชิเร็ง นัม เมียวโฮ เร็งเงะ เคียว

ศาสนาฮินดู

นิกาย มนตร์
ลัทธิไศวะ โอมฺ นมะ ศิวาย ॐ नमः शिवाय
ลัทธิไวษณพ โอมฺ วิษฺณเว นมะ ॐ विष्णवे नमः
ลัทธิคเณศ โอมฺ ศรี คเณศาย นมะ ॐ श्री गणेशाय नमः

ลัทธิอนุตตรธรรม

ลัทธิอนุตตรธรรมเรียกมนตร์ว่ารหัสคาถา หรือ สัจจคาถา (จีน: 口訣) และเชื่อว่าพระแม่องค์ธรรมได้แบ่งธรรมกาลออกเป็น 3 ยุค เรียกว่ายุคสามกัปสุดท้าย ในแต่ละยุค พระแม่จะมอบหมายให้พระพุทธเจ้าเป็นผู้ปกครองและมีรหัสคาถากำหนดไว้แตกต่างกันไป ดังต่อไปนี้[2]

ธรรมกาล ระยะเวลา ผู้ปกครอง รหัสคาถา
ยุคเขียว 1886 ปี พระทีปังกรพุทธเจ้า อู๋เลี่ยงโซ่วฝอ
ยุคแดง 3,140 พระศากยมุนีพุทธเจ้า หนันอู๋อาหมีถัวฝอ
ยุคขาว 10,800 ปี พระศรีอริยเมตไตรย อู๋ไท่ฝอหมีเล่อ

สัจจคาถาถือเป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ที่สุด เป็นความลับของสวรรค์ ห้ามจดบันทึก ห้ามนำไปบอกต่อ มีเฉพาะผู้ได้รับอาณัติสวรรค์ (ได้แก่ จู่ซือ เหล่าเฉียนเหริน เฉียนเหริน และเตี่ยนฉวนซือ) เท่านั้นที่เปิดเผยสัจจคาถาได้ เมื่อเผชิญภัยอันตรายท่องคาถานี้แล้วสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะช่วยให้พ้นอันตรายและวิบากกรรมต่าง ๆ[3]

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 878
  2. สายทอง (พงศาธรรม ๑), ศุภนิมิต ผู้แปล, กรุงเทพฯ: ส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ม.ป.ป., หน้า 24-40
  3. เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ, ธรรมประธานพร เล่ม ๕, เชียงใหม่: บี.เอส.ดี การพิมพ์, 2547, หน้า 185-191