ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปางโปรดพุทธบิดา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jessica cando (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Jessica cando (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Taweetham
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
== ความเชื่อและคตินิยม ==
== ความเชื่อและคตินิยม ==
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}
== แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [http://www.thaibuddhiststore.com/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B/%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87-5-%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%A7 ธนารัตนโชติสังฆภัณฑ์] พระปางโปรดพุทธบิดา (นั่ง)

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]. '''[[ตำนานพุทธเจดีย์]]'''. ธนบุรี : ศิลปาบรรณาคาร โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513.
* สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]. '''[[ตำนานพุทธเจดีย์]]'''. ธนบุรี : ศิลปาบรรณาคาร โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:51, 1 มิถุนายน 2553

ปางโปรดพุทธบิดา เป็นพระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายอยู่ในท่าประคองบาตร พระหัตถ์ขวายกขึ้นจีบนิ้วพระหัตถ์

ประวัติ

เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จบิณฑบาตในพระนคร พระเจ้าสุทโธทนะทรงเห็นว่าเป็นการเสื่อมเสียพระเกียรติของพระโอรสกษัตริย์ พระพุทธองค์ตรัสอธิบายว่าเป็นพุทธประเพณี พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตและที่จะมาตรัสรู้ในอนาคตต่างก็ดำรงชีพด้วยอาหารบิณฑบาต จากนั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนาอริยวังสิกสูตรแก่พุทธบิดา ความว่า เป็นบรรพชิตไม่ควรประมาทในอาหาร ผู้ประพฤติสุจริตธรรม ย่อมประสบสุขทั้งในปัจจุบันและอนาคต เมื่อจบพระธรรมเทศนา พุทธบิดาก็ได้ดวงตาเห็นธรรม เป็นพระโสดาบัน และกราบทูลอาราธนา พระพุทธองค์พร้อมพระสงฆ์สาวกให้เสด็จไปรับอาหารบิณฑบาต ณ พระราชนิเวศน์ พระเจ้าสุทโธทนะ บรรลุอรหันตผลในเวลาต่อมา

ความเชื่อและคตินิยม

อ้างอิง

  • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ตำนานพุทธเจดีย์. ธนบุรี  : ศิลปาบรรณาคาร โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513.
  • เรื่องพระพุทธรูปปางต่างๆ หลวงบริบาลบุรีรัตน์ และนายเกษมบุญศรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้นเพื่อพระราชทานในงานพระราชกุศลราชคฤหมงคลขึ้นพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2500)
  • สกุลศิลปพระพุทธรูปในประเทศไทย อาจารย์จิตร บัวบุศย์
  • ศิลปในประเทศไทย ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิสกุล
  • http://www.dhammathai.org/pang/pang.php
  • http://www.lekpluto.com/index02/special06.html
  • http://www.banfun.com/