ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะราษฎร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่รายชื่อบางส่วน
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
'''คณะราษฎร''' คือกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|ปฏิวัติ]]ในสมัย[[รัชกาลที่ 7]] เพื่อเปลี่ยนแปลง[[การปกครอง]]ของ[[ประเทศไทย]] จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] เป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] ในวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]]
'''คณะราษฎร''' คือกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|ปฏิวัติ]]ในสมัย[[รัชกาลที่ 7]] เพื่อเปลี่ยนแปลง[[การปกครอง]]ของ[[ประเทศไทย]] จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]] เป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] ในวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]]


สมาชิกของคณะราษฎรมีทั้งสิน 102 คน แบ่งเป็นสามสาย คือ สายทหารบก นำโดย [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา]] สายทหารเรือ นำโดย [[หลวงสินธุสงครามชัย|น.ต. หลวงสินธุสงครามชัย]] และสายพลเรือนนำโดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ[[ปรีดี พนมยงค์]]
สมาชิกของคณะราษฎรมีทั้งสิ้น 102 คน แบ่งเป็นสามสาย คือ สายทหารบก นำโดย [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา]] สายทหารเรือ นำโดย [[หลวงสินธุสงครามชัย|น.ต. หลวงสินธุสงครามชัย]] และสายพลเรือนนำโดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ [[ปรีดี พนมยงค์]]


วัตถุประสงค์ของคณะราษฎรที่ได้ระบุในการประชุมครั้งแรก ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 คือ การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และมีเป้าหมายอีก 6 ประการคือ 1. รักษาความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. ดูแลเรื่องเศรษฐกิจ โดยจัดทำโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ 4. ให้มีความเสมอภาค 5. ให้ราษฎรมีเสรีภาพที่ไม่ขัดต่อหลักการข้างต้น 4 ประการ 6.ดูแลเรื่องการศึกษา
วัตถุประสงค์ของคณะราษฎรที่ได้ระบุในการประชุมครั้งแรก ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 คือ การเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเหนือกฎหมาย มาเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]]โดยมีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และมีเป้าหมายอีก 6 ประการคือ 1. รักษาความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. ดูแลเรื่องเศรษฐกิจ โดยจัดทำโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ 4. ให้มีความเสมอภาค 5. ให้ราษฎรมีเสรีภาพที่ไม่ขัดต่อหลักการข้างต้น 4 ประการ 6. ดูแลเรื่องการศึกษา


==สมาชิกคณะราษฎร==
==สมาชิกคณะราษฎร==
บรรทัด 19: บรรทัด 20:
* สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. ''การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ. 1762 - 2500.'' สำนักพิมพ์เสมาธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. พ.ศ. 2549.
* สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. ''การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ. 1762 - 2500.'' สำนักพิมพ์เสมาธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. พ.ศ. 2549.


[[Category:การปกครอง]]
[[หมวดหมู่:การปกครอง]]
[[Category:การเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:การเมืองไทย]]
{{โครงการเมือง}}
{{โครงการเมือง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:56, 22 กรกฎาคม 2549

คณะราษฎร เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ คณะราษฎร หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

คณะราษฎร คือกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการปฏิวัติในสมัยรัชกาลที่ 7 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทย จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

สมาชิกของคณะราษฎรมีทั้งสิ้น 102 คน แบ่งเป็นสามสาย คือ สายทหารบก นำโดย พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา สายทหารเรือ นำโดย น.ต. หลวงสินธุสงครามชัย และสายพลเรือนนำโดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ ปรีดี พนมยงค์

วัตถุประสงค์ของคณะราษฎรที่ได้ระบุในการประชุมครั้งแรก ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 คือ การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และมีเป้าหมายอีก 6 ประการคือ 1. รักษาความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. ดูแลเรื่องเศรษฐกิจ โดยจัดทำโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ 4. ให้มีความเสมอภาค 5. ให้ราษฎรมีเสรีภาพที่ไม่ขัดต่อหลักการข้างต้น 4 ประการ 6. ดูแลเรื่องการศึกษา

สมาชิกคณะราษฎร

ดูบทความหลัก รายชื่อสมาชิกคณะราษฎร

สมาชิกคณะราษฎรแบ่งเป็นสามสายคือ สายทหารบก สายทหารเรือ สายพลเรือน โดยสมาชิกที่สำคัญในการก่อตั้งคณะราษฎร ในแต่ละสายได้แก่

อ่านเพิ่มเติม

เอกสารอ้างอิง

  • สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ. 1762 - 2500. สำนักพิมพ์เสมาธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. พ.ศ. 2549.