กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาฮอกกี้น้ำแข็งในโอลิมปิก
สัญลักษณ์กีฬาฮ็อคกี้น้ำแข็ง
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1; ผสม: 0)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920
  • 1924
  • 1928
  • 1932
  • 1936
  • 1948
  • 1952
  • 1956
  • 1960
  • 1964
  • 1968
  • 1972
  • 1976
  • 1980
  • 1984
  • 1988
  • 1992
  • 1996
  • 2000
  • 2004
  • 2008
  • 2012
  • 2016
  • 2020
  • 2024

กีฬาฮอกกี้น้ำแข็ง เป็นชนิดกีฬาที่จัดแข่งขันหลักในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ได้รับการบรรจุในโอลิมปิกเป็นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 ซึ่งมีแต่ทีมชาย และในปี ค.ศ. 1924 จึงย้ายมาจัดแข่งขันในโอลิมปิกฤดูหนาว ที่ฝรั่งเศส ส่วนประเภททีมหญิงนั้นเกิดขึ้นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1988

สถิติ[แก้]

ชาติที่เข้าร่วม[แก้]

อธิบาย
# ลำดับที่เมื่อจบการแข่งขัน
=# ทีมที่ได้ลำดับเดียวกันเมื่อจบการแข่งขัน
ไม่ได้เข้าร่วมในปีนั้น
DSQ The team was disqualified during the tournament.
The nation did not exist with that designation at that time.
References:[1][2]

ทีมชาย[แก้]

ประเทศ 1920
24
28
32
36
48
52
56
60
64
68
72
76
80
84
88
92
94
98
02
06
10
14
รวม
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (AUS) 9 1
ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย (AUT) 5 7 7 10 13 13 8 10 9 12 14 12 10 13
ประเทศเบลารุส เบลารุส (BLR) 7 4 9 3
ประเทศเบลเยียม เบลเยียม (BEL) 6 7 8 9 4
ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย (BUL) 12 1
ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 1 1 1 1 2 1 1 3 2 4 3 6 4 4 2 2 4 1 7 1 1 21
ประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย (CZE) 5 1 7 3 7 6 6
ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) 3 5 5 4 2 4 5 4 3 2 3 2 5 2 6 3 16
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) 7 7 6 5 5 4 4 6 2 7 3 3 6 2 3 3 16
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA) 6 5 5 9 14 11 8 10 11 14 10
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER) 8 3 5 6 7 9 8 10 11 9
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก (FRG) 8 6 6 7 7 7 3 10 5 5 10
สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก (GDR) 8 1
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) 3 4 1 5 4
ประเทศฮังการี ฮังการี (HUN) 11 7 16 3
ประเทศอิตาลี อิตาลี (ITA) 9 8 7 15 9 12 9 12 11 9
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN) 9 8 11 10 9 9 12 13 8
ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน (KAZ) 8 9 2
ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย (LAT) 9 9 12 12 8 5
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (NED) 8 1
ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR) 9 10 11 8 11 12 12 9 11 10 12 11
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ (POL) 8 4 9 6 6 8 9 6 6 7 8 10 11 13
ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย (ROU) 12 12 7 9 4
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS) 4 2 3 4 6 5 6
ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย (SVK) 6 10 13 5 4 11 6
ประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย (SLO) 7 1
สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) 1 3 1 1 1 1 2 1 1 9
ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) 4 4 2 5 4 3 4 5 2 4 4 3 3 3 5 1 5 5 1 5 2 21
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 5 7 3 9 3 5 9 8 10 11 8 10 11 6 8 9 16
ประเทศยูเครน ยูเครน (UKR) 10 1
ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) 1 1
สหรัฐ สหรัฐ (USA) 2 2 2 3 DSQ 2 2 1 5 6 2 5 1 7 7 4 8 6 2 8 2 4 22
ยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย (YUG) 14 9 11 10 11 5
รวม 7 8 11 4 15 9 9 10 9 16 14 11 12 12 12 12 12 12 14 14 12 12 12 250

ทีมหญิง[แก้]

ประเทศ 98 02 06 10 14
รวม
ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 2 1 1 1 1 5
ประเทศจีน จีน (CHN) 4 7 7 3
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) 3 4 4 3 5 5
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER) 6 5 7 3
ประเทศอิตาลี อิตาลี (ITA) 8 1
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN) 6 8 2
ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน (KAZ) 8 1
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS) 5 6 6 6 4
ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย (SVK) 8 1
ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) 5 3 2 4 4 5
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 7 5 3 3
สหรัฐ สหรัฐ (USA) 1 2 3 2 2 5
รวม 6 8 8 8 8 32

ผู้ชนะในแต่ละครั้ง[แก้]

ทีมชาย[แก้]

Games เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
1920 Antwerp ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH)
1924 Chamonix ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR)
1928 St. Moritz ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)
1932 Lake Placid ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนี (GER)
1936 Garmisch-Partenkirchen สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA)
1948 St. Moritz ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)
1952 Oslo ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
1956 Cortina d'Ampezzo สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN)
1960 Squaw Valley สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS)
1964 Innsbruck สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH)
1968 Grenoble สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN)
1972 Sapporo สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH)
1976 Innsbruck สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก (FRG)
1980 Lake Placid สหรัฐ สหรัฐ (USA) สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
1984 Sarajevo สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
1988 Calgary สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
1992 Albertville ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH)
1994 Lillehammer ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN)
1998 Nagano สาธารณรัฐเช็ก เช็กเกีย (CZE) สหพันธรัฐรัสเซีย รัสเซีย (RUS) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN)
2002 Salt Lake City ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) สหพันธรัฐรัสเซีย รัสเซีย (RUS)
2006 Turin ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) สาธารณรัฐเช็ก เช็กเกีย (CZE)
2010 Vancouver ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN)
2014 Sochi ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN)

ทีมหญิง[แก้]

The medal ceremony for the women's tournament at the 2010 Winter Olympics, left to right: the United States (silver), Canada (gold) and Finland (bronze).
Games เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
1998 Nagano สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN)
2002 Salt Lake City ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
2006 Turin ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) สหรัฐ สหรัฐ (USA)
2010 Vancouver ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN)
2014 Sochi ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)

ตารางสรุปเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 13 5 2 20
2 สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (URS) 7 1 1 9
3 สหรัฐ สหรัฐ (USA) 3 11 2 16
4 ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) 2 4 5 11
5 ประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย (CZE) 1 0 1 2
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) 1 0 1 2
7 ทีมรวมเฉพาะกิจเครือรัฐเอกราช ทีมรวม (EUN) 1 0 0 1
8 ประเทศเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย (TCH) 0 4 4 8
9 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) 0 2 6 8
10 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS) 0 1 1 2
11 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 0 0 3 3
12 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER) 0 0 1 1
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก (FRG) 0 0 1 1

อ้างอิง[แก้]

  1. "Ice hockey and Olympism" (PDF). Olympic Review. International Olympic Committee. 1984.
  2. "Ice hockey – Olympics". Sports-reference.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-18. สืบค้นเมื่อ 2009-03-09.