ข้ามไปเนื้อหา

กองทัพยะไข่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพยะไข่
အာရက္ခတပ်တော်
มีส่วนร่วมในความขัดแย้งภายในพม่า
ปฏิบัติการ10 เมษายน 2552 (2552-04-10) – ปัจจุบัน
แนวคิดลัทธิชาตินิยมอาระกัน
การกำหนดการปกครองด้วยตนเองอาระกัน
สมาพันธรัฐ
ผู้นำตวัน มยัด นาย[1]
ญอ ตวัน ออง[2]
กองบัญชาการLaiza, Kachin State (currently)
Mrauk-U, Rakhine State (planned)
พื้นที่ปฏิบัติการChin State[3],
Kachin State,
Magway Region[4],
Rakhine State,
Sagaing Region[5],
Shan State,
Bangladesh–Myanmar border
China–Myanmar border
ส่วนหนึ่งของ
พันธมิตรNorthern Alliance[6]

Other allies:

ปรปักษ์
การสู้รบและสงครามInternal conflict in Myanmar

กองทัพยะไข่ หรือ กองทัพอาระกัน[15] (อังกฤษ: Arakha Army) เป็นองค์กรชาติพันธุ์ติดอาวุธในรัฐยะไข่ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2551 องค์กรนี้ได้สู้รบร่วมกับกองทัพเอกราชกะชีนในความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะชีน กลุ่มนี้กล่าวอ้างว่ามีสมาชิก 400–500 คนในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555[16] ผู้นำของกองทัพคือ ตะวัน มรัต ไนง์ โญ ตะวัน ออง ผู้นำอันดับสองของกองทัพกล่าวว่า วัตถุประสง์ของกองทัพคือเพื่อปกป้องชาวยะไข่ สร้างสันติภาพ ความยุติธรรม เสรีภาพ และการพัฒนา

อ้างอิง

[แก้]
  1. "About AA". Arakan Army. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 November 2016. สืบค้นเมื่อ 24 June 2015.
  2. "ARAKAN ARMY ( AA )". Arakan Army. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2019. สืบค้นเมื่อ 24 May 2019.
  3. "Internet Blackout Imposed on Myanmar's Restive Rakhine State". Agence France-Presse via Voice of America. 23 June 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019.
  4. "Arakan Army Attacks Myanmar Junta's Rakhine Power Base". The Irrawaddy. 29 March 2024.
  5. "၁၀၂၇စစ်ဆင်ရေး စစ်ကိုင်းအထက်ပိုင်းဝင်ရောက်လာ". The Irrawaddy (ภาษาBurmese). 2023-10-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 22, 2024. สืบค้นเมื่อ 2023-10-30.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  6. Lynn, Kyaw Ye. "Curfew imposed after clashes near Myanmar-China border". Anadolu Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2020. สืบค้นเมื่อ 21 November 2016.
  7. Mathieson, David Scott (11 June 2017). "Shadowy rebels extend Myanmar's wars". Asia Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 September 2022. สืบค้นเมื่อ 13 June 2017.
  8. "Chin National Front Signs Deal with Myanmar's Shadow Govt". The Irrawaddy. 29 May 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2021. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
  9. "CDF-Mindat admits receiving military training and arms from Arakan Army". BNI. 28 April 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 May 2022. สืบค้นเมื่อ 4 May 2022.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ emergence
  11. "Myanmar Resistance Seizes First District Level Town in Sagaing as Offensive Expands". The Irrawaddy (ภาษาEnglish). 2023-11-06. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 29, 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  12. "မကွေး တော်လှန်ရေးအဖွဲ့ PRA ကို AA ချီးကျူး". Burma News International Online. 22 March 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 March 2023. สืบค้นเมื่อ 24 March 2022.
  13. "ရက္ခိုင့်တပ်တော်၏ကူညီထောက်ပံ့မှုဖြင့် ကျောင်းသားလက်ရုံးတပ်တော်ကို ဖွဲ့စည်းတည်ထောင်ခဲ့". Narinjara (ภาษาพม่า). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 10, 2023.
  14. "Almost 40 Myanmar Junta Positions Abandoned in Rakhine: Arakan Army". The Irrawaddy (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 14 November 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 November 2023. สืบค้นเมื่อ 14 November 2023.
  15. "กองทัพอาระกัน (AA) เสนอความช่วยเหลือแก่ชาวโรฮีนจาในรัฐยะไข่เพื่อหนีการเกณฑ์ทหาร". Sharing Intelligence Center (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2024-03-07.
  16. "Far From Home, Arakan Rebels Fight on Kachin Frontline". Irrawaddy.org. สืบค้นเมื่อ 2014-05-05.