ไฟล์:Ribbon bar of Red Cross Medal of Merit (Thailand).svg

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ดูภาพที่มีความละเอียดสูงกว่า((ไฟล์ SVG, 100 × 30 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 8 กิโลไบต์))

Wikimedia Commons logo รูปภาพหรือไฟล์เสียงนี้ ต้นฉบับอยู่ที่ คอมมอนส์ รายละเอียดด้านล่าง เป็นข้อความที่แสดงผลจาก ไฟล์ต้นฉบับในคอมมอนส์
คอมมอนส์เป็นเว็บไซต์ในโครงการสำหรับเก็บรวบรวมสื่อเสรี ที่ คุณสามารถช่วยได้

ความย่อ

คำอธิบาย
English: Ribbon bar of Red Cross Medal of Merit (Thailand) according to the Thai Red Cross Society Revised Regulation No.72 of B.E.2553 (2010 A.D.)
ไทย: แพรแถบย่อเหรียญกาชาดสรรเสริญ ตามประกาศข้อบังคับสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 72) พุทธศักราช 2553 มีลักษณะดังนี้


ข้อ 95 เหรียญกาชาดสรรเสริญ มีลักษณะเป็นเหรียญทองแดงแบนรูปกาชาด มีวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 มิลลิเมตร ทับอยู่ด้านหน้ามีรูปนางเมขลาอุ้มพระชนกขึ้นจากมหาสมุทร ด้านหลังกลางเหรียญมีข้อความว่า “กาชาดสรรเสริญ” มีห่วงห้อย สําหรับบุรุษใช้ห้อยกับแพรแถบสีขาวกว้าง 30 มิลลิเมตร มีริ้วสีแดงใกล้ขอบทั้งสองข้าง ด้านหน้าแพรแถบตรงกลางมีกาชาดลงยา สําหรับสตรีใช้ห้อยกับแพรแถบดังกล่าวผูกเป็นรูปแมลงปอ
อนึ่ง ถ้าผู้รับเหรียญได้บําเพ็ญคุณความดีและรับการสรรเสริญของสภากาชาดไทยตามความในข้อบังคับนี้สืบไปในเบื้องหน้าอีกครั้งหนึ่ง ก็ให้เพิ่มเครื่องหมายกาชาดลงยาบนแพรแถบอีกอันหนึ่ง และต่อไปถ้าได้รับสรรเสริญอีกกี่ครั้งก็เพิ่มจํานวนเครื่องหมายกาชาดลงยาขึ้นเป็นลําดับทุกครั้ง ผู้ที่ได้รับเหรียญกาชาดสรรเสริญจะได้รับประกาศนียบัตรประกอบเหรียญที่ได้รับ ถ้าผู้ใดได้รับเหรียญกาชาดสรรเสริญเป็นครั้งที่ 2 และต่อๆ ไปจะได้เครื่องหมายกาชาดติดแถบเหรียญกับประกาศนียบัตรทุกครั้ง และถ้าผู้ใดช่วยชีวิตมนุษย์ไม่ถึงเกณฑ์ที่จะได้รับเหรียญกาชาดสรรเสริญ อาจได้รับประกาศนียบัตรชมเชยได้

สำหรับภาพเครื่องหมายกาชาด ใช้ภาพต้นแบบจาก File:Flag of the Red Cross.svg
วันที่
แหล่งที่มา Royal Thai Government Gazette
ผู้สร้างสรรค์ Thai Red Cross Society

การอนุญาตใช้สิทธิ

Insignia ภาพนี้เป็นภาพธง ตราอาร์ม ตราแผ่นดิน ตราประทับ ตราภาพพิมพ์ ตลอดจนเครื่องหมายของทางการอื่น ๆ ซึ่งการใช้งานเครื่องหมายดังกล่าวถูกจำกัดและควบคุมโดยกฎหมายอื่น ๆ ที่แยกไปจากกฎหมายลิขสิทธิ์ในหลายประเทศ
IHL Symbol การใช้สัญลักษณ์ตามที่แสดงในภาพนี้ ถูกจำกัดและควบคุมโดยสนธิ/อนุสัญญาหลายฉบับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุสัญญากรุงเฮก พ.ศ. ๒๔๔๒ และ พ.ศ. ๒๔๕๐, อนุสัญญาเจเนวา พ.ศ. ๒๔๙๒, พิธีสารปี พ.ศ. ๒๕๒๐ และ พ.ศ. ๒๕๔๘ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

การนำไปใช้ซึ่งสัญลักษณ์ในทางมิชอบ รวมถึงการนำไปใช้ทางการค้าโดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นการมิชอบด้วยอนุสัญญาเหล่านี้ รวมถึงยังมิชอบด้วยกฎหมายในชาติที่ลงนามให้สัตยาบันด้วย ข้อจำกัดทั้งหมดนี้ ไม่ขึ้นกับกฎหมายลิขสิทธิ์

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน22:34, 19 ธันวาคม 2562รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 22:34, 19 ธันวาคม 2562100 × 30 (8 กิโลไบต์)Xiengyod~commonswikiresize
23:30, 12 ธันวาคม 2562รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 23:30, 12 ธันวาคม 25621,000 × 300 (2 กิโลไบต์)Xiengyod~commonswikiUser created page with UploadWizard

หน้าต่อไปนี้ โยงมาที่ภาพนี้:

การใช้ไฟล์ข้ามโครงการ

วิกิอื่นต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลเกี่ยวกับภาพ