โซยุซ เอ็มเอส-02
หน้าตา
โซยุซ เอ็มเอส-02 | |
---|---|
จรวดโซยุซเอ็มเอส-04 ขณะเตรียมตัวกำลังปล่อยจรวด | |
ประเภทภารกิจ | โดยสารลูกเรือ สถานีอวกาศนานาชาติ |
ผู้ดำเนินการ | รอสคอสมอส |
COSPAR ID | 2016-063A |
SATCAT no. | 41820 |
ระยะภารกิจ | 173 วัน 3 ชั่วโมง 16 นาที 21 วินาที [1] |
ระยะทางที่เดินทาง | 118 ล้านกิโลเมตร |
วงโคจรรอบโลก | 2,768[1] |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | Soyuz MS |
ชนิดยานอวกาศ | Soyuz MS 11F732A48 |
ผู้ผลิต | RKK Energia |
มวลขณะส่งยาน | 7080 กิโลกรัม |
บุคลากร | |
ผู้โดยสาร | 3 |
รายชื่อผู้โดยสาร | เซอร์เก รีจีคอฟ อันเดร บอริสเซนโก โรเบริท์ เอส. คิมโบรห์ |
รหัสเรียก | Favor |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559, 08:05:00 UTC |
จรวดนำส่ง | Soyuz-FG |
ฐานส่ง | บัยโกเงอร์ ลาน 31 |
ผู้ดำเนินงาน | Progress Rocket Space Centre |
สิ้นสุดภารกิจ | |
ลงจอด | 10 เมษายน พ.ศ. 2560, 11:20 UTC |
พิกัดลงจอด | ทุ่งหญ้าประเทศคาซักสถาน |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรค้างฟ้า |
ระบบวงโคจร | วงโคจรต่ำของโลก |
ความเอียง | 51.66° |
Docking with ISS | |
Docking port | Poisk zenith |
Docking date | 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559, 09:52 UTC |
Undocking date | 10 เมษายน พ.ศ. 2560, 07:57 UTC |
Time docked | 171 วัน |
(l-r) คิมโบรห์, รีจีคอฟ และ บอริสเซนโก โครงการโซยุซ (ภารกิจลูกเรือ) |
โซยุซ เอ็มเอส-02 เป็นโครงการอวกาศที่มีการวางแผนว่าจะเปิดตัวยานเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2559 แต่ได้เปิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เนื่องจากปัญหาทางด้านเทคนิค[2] โดยเป็นการส่งลูกเรือสามคนจากโครงการเอ็กแพรนดิชัน 49 เข้าสู่วงโคจรเพื่อไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ เอ็มเอส-02 เป็นโครงการอวกาศโซยุซครั้งที่ 131 ประกอบไปด้วยลูกเรือผู้บัญชาการ และวิศวกรประจำเครื่องชาวรัสเซีย และวิศวกรชาวอเมริกา[3][4] เอ็มเอส-02 ได้เชื่อมต่อกับเอ็มเอสเอ็ม-2 ของสถานีอวกาศนานาชาติ เมื่อวันศุกร์ ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559[5]
เอ็มเอส-02 กลับมายังโลกเมื่อวันจันทร์ ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2560[6]ลงจากสถานีอวกาศนานาชาติโดยการใช้แคปซูลพร้อมลงชูชีพขนาพิเศษ เพื่อการชะลอความเร็วของแคปซูล แคปซูลได้ถึงพื้นในเวลา 11:20 ตามเวลาสากลเชิงพิกัด รวมระยะเวลาภารดิจเป็น 173 วัน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Afternoon Soyuz Touchdown Caps Half-Year Space Mission for Russian-American Crew Trio". spaceflight101.com. Spaceflight101.com. April 10, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-11. สืบค้นเมื่อ 2017-04-10.
- ↑ "Soyuz spacecraft with 3-man crew blasts off to Intl Space Station". RT News. 19 October 2016. สืบค้นเมื่อ 19 October 2016.
- ↑ Sarah Lewin (19 October 2016). "Liftoff! Soyuz Rocket Launches US-Russian Space Station Crew Into Orbit". Space.com. สืบค้นเมื่อ 19 October 2016.
- ↑ "Soyuz MS-02 spacecraft docks with Expedition 49/50 crew | NASASpaceFlight.com". www.nasaspaceflight.com. สืบค้นเมื่อ 2016-10-31.
- ↑ "Soyuz MS-02 spacecraft docks with Expedition 49/50 crew - NASASpaceFlight.com". www.nasaspaceflight.com.
- ↑ Garcia, Mark (2015-02-12). "Expedition 50". NASA (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-21. สืบค้นเมื่อ 2017-03-16.