โซยุซ เอ็มเอส-04
หน้าตา
โซยุซ เอ็มเอส-04 | |
---|---|
จรวดโซยุซ เอ็มเอส-04 ขนาดอยู่บริเวณลานปล่อยจรวดอวกาศ | |
ข้อมูลทั่วไป | |
ผู้ควบคุม | รัฐวิสาหกิจรอสคอสมอส |
วงโคจรที่เข้าสำเร็จ | 2,176 ครั้ง |
ลูกเรือ | |
จำนวนลูกเรือ | 2 คน (ขากลับ 1 คน) |
สมาชิก | ฟีโอดอร์ เยอร์ชิคฮิน แจ็ค ดี. ฟิชเชอร์ (ขากลับ: เพ็กกี้ เอ. วิตสัน) |
เริ่มภารกิจ | |
ข้อมูล | 20 มีนาคม พ.ศ. 2560 |
ที่ปล่อย | บัยโกเงอร์ ลาน 1/5 |
สิ้นสุดภารกิจ | |
ข้อมูล | 3 ธันวาคม พ.ศ. 2560 01:22 UTC |
ที่ลงจอด | คาซัคสถาน |
ภารกิจ | |
ก่อนหน้านี้ | โซยุซ เอ็มเอส-03 |
หลังจากนี้ | โซยุซ เอ็มเอส-06 |
โซยุซ เอ็มเอส-04 เป็นโครงการอวกาศโซยุซที่เปิดตัวขึ้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2560 เพื่อไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ[1]โดยได้ส่งลูกเรือ 2 คนจากโครงการเอ็กแพรนชัน 52 ไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ เอ็มเอส-04 เป็นโครงการอวกาศโซยุซครั้งที่ 133 ลูกเรือประกอบด้วยผู้บัญชาการชาวรัสเซียและวิศวกรชาวอเมริกา เป็นครั้งแรกของโครงการอวกาศโซยุซ เอ็มเอสที่ใช้ระยะเวลาในการถึงสถานีอวกาศเพียง 6 ชั่วโมง โดยภารกิจก่อนหน้านี่ใช้เวลาเข้าวงโคจรถึง 2 วัน และยังเป็นครั้งแรกที่ส่งนักบินอวกาศจำนวน 2 คน หลังจากที่มีภารกิจโซยุซ ทีเอ็มเอ-02
ลูกเรือ
[แก้]ตำแหน่ง[2] | การปล่อยของCrew Member | การลงจอดของCrew Member |
---|---|---|
ผู้บัญชาการ | ฟีโอดอร์ เยอร์ชิคฮิน, อาร์เอสเอ เอ็กแพรนชัน 51 ขึ้นสู่อวกาศครั้งห้าใน | |
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 1 | แจ็ค ดี. ฟิชเชอร์, นาซา เอ็กแพรนชัน 51 ขึ้นสู่อวกาศครั้งนี้และสุดท้ายใน | |
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 2 | N/A | เพ็กกี้ เอ. วิตสัน, นาซา[3] เอ็กแพรนชัน 52 ขึ้นสู่อวกาศครั้งสามและสุดท้ายใน[4] |
ขากลับ
[แก้]ตำแหน่ง[2] | จำนวนลูกเรือ | |
---|---|---|
ผู้บัญชาการ | เสอร์เจียน รยาซานสกี, อาร์เอสอาร์ | |
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 1 | รานโดท เฟอร์สนิทร์, นาซา |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Pietrobon, Steven (5 February 2017). "Russian Launch Manifest". สืบค้นเมื่อ 12 February 2017.
- ↑ 2.0 2.1 "Manned Spaceflight Launch and Landing Schedule". spacefacts. สืบค้นเมื่อ 22 November 2016.
- ↑ Harwood, William. "Whitson's station expedition extended three months". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 5 April 2017.
- ↑ Potter, Sean (15 June 2018). "Record-Setting NASA Astronaut Peggy Whitson Retires". NASA (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 June 2018.