โซยุซ เอ็มเอส-01

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โซยุซ เอ็มเอส-01
จรวดโซยุซ เอ็มเอส-01 ขณะกำลังเทียบท่าของสถานีอวกาศนานาชาติ
ประเภทภารกิจโดยสารลูกเรือ สถานีอวกาศนานาชาติ
ผู้ดำเนินการรอสคอสมอส
COSPAR ID2016-044A
SATCAT no.41639
ระยะภารกิจ115 วัน 2 ชั่วโมง 22 นาที
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศSoyuz MS
ชนิดยานอวกาศSoyuz-MS 11F732A48
ผู้ผลิตRKK Energia
มวลขณะส่งยาน7080 กิโลกรัม
บุคลากร
ผู้โดยสาร3
รายชื่อผู้โดยสารอนาโตลี อวนิชิน
ทาคุยะ โอนิชิ
แคทลีน รูบินส์
รหัสเรียกIrkut
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น7 กรกฎาคม 2016, 01:36 UTC[1]
จรวดนำส่งSoyuz-FG
ฐานส่งบัยโกเงอร์ ลาน 31
ผู้ดำเนินงานProgress Rocket Space Centre
สิ้นสุดภารกิจ
ลงจอด30 ตุลาคม 2016,
03:58 UTC [2]
พิกัดลงจอดทุ่งหญ้าประเทศคาซักสถาน
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรค้างฟ้า
ระบบวงโคจรวงโคจรต่ำของโลก
ความเอียง51.66°
Docking with สถานีอวกาศนานาชาติ
Docking portRassvet nadir
Docking date9 กรกฎาคม 2016, 04:12 UTC [3]
Undocking date30 ตุลาคม 2016 00:35 UTC
Time docked113 วัน

(l-r) อวนิชิน, รูบินส์ and โอนิชิ
โครงการโซยุซ
(ภารกิจลูกเรือ)
 

โซยุซ เอ็มเอส-01 เป็นโครงการอวกาศโซยุซที่เปิดตัวขึ้นในปี พ.ศ. 2559 เพื่อไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ[4] เริ่มแรกมีการวางไว้จะเปิดตัวในเดือนมิถุนายน แต่ว่าได้เลื่อนไปเป็นวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2559[5] โดยเป็นการส่งลูกเรือสามคนจากโครงการเอ็กแพรนดิชัน 49 ไปสู่สถานีอวกาศนานาชาติ เอ็มเอส-01 เป็นโครงการอวกาศโซยุซครั้งที่ 130 และถือยังเป็นการเปิดโครงการใหม่ โซยุซ เอ็มเอส ประกอบไปด้วยลูกเรือผู้บัญชาการชาวรัสเซีย, วิศวกรชาวญี่ปุ่น และวิศวกรชาวอเมริกา

เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ได้เลื่อนการปล่อยยานเนื่องจากว่ามีปัญหาในการเทียบท่ากับสถานีอวกาศนานาชาติ โดยเปลี่ยนเป็นเดือนกรกฎาคม ในปีเดียวกันแทน[6] ยานอวกาศเชื่อมต่อกับสถานีอวกาศนานาชาติอย่างถูกต้อง เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559[3] และกลับมายังโลกเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2559[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Crew Launches for Two-Day Ride to Station". NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-10. สืบค้นเมื่อ 8 July 2016. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  2. 2.0 2.1 "Soyuz MS crew return". Roscosmos. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-06. สืบค้นเมื่อ 30 October 2016.
  3. 3.0 3.1 Garcia, Mark (9 July 2016). "Expedition 48-49 Crew Docks to New Home in Space". blogs.nasa.gov/spacestation. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  4. "Russian Launch Manifest". สืบค้นเมื่อ 13 March 2014.
  5. "First flight of upgraded Russian Soyuz MS spacecraft lifts off for space station".
  6. "Launch of new series manned spacecraft rescheduled due to risk of docking disruption". TASS news agency. 6 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-09. สืบค้นเมื่อ 2018-11-13.