เอ็มเพ 40
เอ็มเพ 40 | |
---|---|
มาซชีนพิสทูเลอ 40 | |
ชนิด | ปืนกลมือ |
สัญชาติ | นาซีเยอรมนี |
บทบาท | |
ประจำการ | 1938–1945 |
ผู้ใช้งาน | See Operators |
สงคราม | |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | Heinrich Vollmer |
ช่วงการออกแบบ | 1938 |
บริษัทผู้ผลิต | |
ช่วงการผลิต | 1940–1945 |
จำนวนที่ผลิต | 1.1 ล้าน (โดยประมาณ) |
แบบอื่น |
|
ข้อมูลจำเพาะ | |
น้ำหนัก | 3.97 กก. (8.75 ปอนด์)[2][3] |
ความยาว | 833 มม. (32.8 นิ้ว) stock extended / 630 มม. (24.8 นิ้ว) stock folded[4] |
ความยาวลำกล้อง | 251 มม. (9.9 นิ้ว)[4] |
กระสุน | 9×19mm Parabellum[4] |
การทำงาน | Straight blowback, open bolt[3] |
อัตราการยิง | 500 rounds/min[4] |
ความเร็วปากกระบอก | 400 เมตร/วินาที (1,312 ฟุต/วินาที)[4] |
ระยะหวังผล | 100 – 200 m[3] |
พิสัยไกลสุด | 200 m[3] |
ระบบป้อนกระสุน | 32-round detachable box magazine 64-round with dual magazines[3] |
ศูนย์เล็ง | Hooded front blade |
มาซชีนพิสทูเลอ 40 (Maschinenpistole 40) เป็นปืนกลมือลำกล้องสำหรับขนาด 9×19 มม. กระสุนปืนพาราเบลลัม ได้รับการพัฒนาในนาซีเยอรมนีและถูกใช้อย่างกว้างขวางโดยฝ่ายอักษะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
ถูกออกแบบในปี 1938 โดยไฮน์ริช ฟอลเมอร์ (Heinrich Vollmer) ด้วยแรงบันดาลใจมาจากต้นแบบของปืนมาซชีนพิสทูเลอ 38,มันถูกใช้งานอย่างหนักโดยทหารราบ,พลทหารโดดร่ม,หมวดทหารและผู้นำหมู่ทหารในแนวรบตะวันตกและตะวันออก ด้วยคุณสมบัติและความทันสมัยขั้นสูงของมันทำให้เป็นที่ชื่นชอบในหมู่ทหารและเป็นที่นิยมในประเทศจากทั่วทุกมุมโลกหลังสงคราม มันก็มักไม่สมควรที่จะเรียกว่า "ชไมเซอร์"โดยฝ่ายสัมพันธมิตร แม้ว่า Hugo Schmeisser จะไม่มีส่วนร่วมในในการออกแบบอาวุธและผลิต จากปี 1940-1945 มันถูกผลิตประมาณ 1.1 ล้านกระบอกโดย Erma Werke
ผู้ใช้งาน[แก้]
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การสู้รบต่อต้านนาซีและทหารสัมพันธมิตรบางคนได้ยึดปืนเอ็นเพ 40 มาเปลี่ยนเป็นปืนของตนเอง
ปืนเอ็นเพ 40 ถูกใช้งานมาเป็นเวลาหลายทศวรรษที่ผ่านมาหลังสงครามโลกครั้งที่สองโดยหลายประเทศทั่วโลกในความขัดแย้งทางอาวุธ เอ็นเพ 40 จะพบได้จากการใช้งานของพวกกองโจร เช่น เวียดกง หรือการรบแบบกองโจรของแอฟริกา[5][6]
ออสเตรีย[7]
บัลแกเรีย[7]
จีน[8]
เชโกสโลวาเกีย[7]
ฝรั่งเศส[7]
กรีซ[8]
ฮังการี[9]
อินโดนีเซีย[8]
อิสราเอล[5][a]
ญี่ปุ่น[10]
เกาหลีเหนือ[10]
เกาหลีใต้[8]
มาเลเซีย[8]
ไรช์เยอรมัน[11]
นอร์เวย์[7]
โปแลนด์[12]
โรมาเนีย[13]
สหภาพโซเวียต (ได้ยึดครอง เอ็นเพ 40 ถูกใช้งานโดยกองโจรโซเวียต และอื่นๆ)[14][15][16]
สเปน[17]
สหราชอาณาจักร[8]
สหรัฐอเมริกา[8]
เวียดนาม[8]
เยอรมนีตะวันตก[17]
ยูโกสลาเวีย[7]
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อIsrael
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Medal Net.
- ↑ Hogg 2001, p. 16.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 Fowler 2005, p. 98.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 Myatt & Ridefort 1992, p. 107.
- ↑ 5.0 5.1 Katz 1988, p. 9.
- ↑ World Guns.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 de Quesada 2014, p. 66.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 de Quesada 2014, p. 77.
- ↑ Tibor, Rada (2001). "Német gyalogsági fegyverek magyar kézben" [German infantry weapons in Hungarian hands]. A Magyar Királyi Honvéd Ludovika Akadémia és a Testvérintézetek Összefoglalt Története (1830-1945) (in Hungarian). II. Budapest: Gálos Nyomdász Kft. p. 1114. ISBN 963-85764-3-X.
- ↑ 10.0 10.1 de Quesada 2014, p. 78.
- ↑ de Quesada 2014, p. 20.
- ↑ de Quesada 2014, p. 56.
- ↑ de Quesada 2014, p. 23.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSakaida
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อCornish
- ↑ Anthony G. Williams (2012). Sub-Machine Gun: The Development of Sub-Machine Guns and their Ammunition from World War 1 to the Present Day. The Crowood Press UK. p. 15. ISBN 1847972934.
- ↑ 17.0 17.1 de Quesada 2014, p. 64.