เครือข่ายอุทยานธรณีโลก
บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน

อุทยานธรณีสตูล เป็นอุทยานธรณีโลกแห่งแรกของประเทศไทย
เครือข่ายอุทยานธรณีโลก (อังกฤษ: Global Geoparks Network, GGN) คือแผนงานที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดยมีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์มรดกทางธรณีวิทยาของโลก ตลอดจนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนที่เกี่ยวข้อง[1][2][3]
ในส่วนของประเทศไทย องค์การยูเนสโกได้ประกาศให้เป็นอุทยานธรณีสตูล เป็นอุทยานธรณีโลกแห่งแรกของประเทศในปี พ.ศ. 2561[4] และอุทยานธรณีโคราชกำลังจะได้รับการรับรองให้เป็นอุทยานธรณีโลกแห่งที่สองของประเทศในเดือนเมษายน พ.ศ. 2566[5]
เครือข่าย[แก้]
ทวีป | ภูมิภาค | เครือข่ายอุทยานธรณีตามภูมิภาค | จำนวนพื้นที่ | จำนวนประเทศ |
---|---|---|---|---|
แอฟริกา | แอฟริกา | African Geoparks Network | 2 | 2 |
เอเชีย | ||||
เอเชีย | เครือข่ายอุทยานธรณีเอเชียแปซิฟิก | 57 | 8 | |
โอเชียเนีย | ||||
โอเชียเนีย | ||||
ยุโรป | ยุโรป และ อเมริกาเหนือ | European Geoparks Network | 75 | 26 |
อเมริกาเหนือ | — | 3 | 1 | |
อเมริกากลาง | Latin America and the Caribbean | Latin America and the Caribbean Geoparks Network | 7 | 6 |
อเมริกาใต้ |
ดูเพิ่ม[แก้]
- อุทยานธรณีโลกในประเทศไทย
- รายชื่ออุทยานธรณีโลกในทวีปเอเชีย
- เครือข่ายอุทยานธรณีเอเชียแปซิฟิก (Asia Pacific Geoparks Network, APGN)