อีดิลเฆาะดีร
อีดิลเฆาะดีร | |
---|---|
มัสยิดที่โญะฮ์ฟาฮ์ ใกล้กับรอบิฆ, ฮิญาซ, ประเทศซาอุดีอาระเบีย มีรายงานว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นในบริเวณนี้ | |
ชื่ออื่น | อีดิลเฆาะดีร ; เยามุลมีษาก |
จัดขึ้นโดย | มุสลิม ส่วนใหญ่เป็นชีอะฮ์ |
ประเภท | อิสลาม |
ความสำคัญ | การแต่งตั้งอะลีเป็นผู้สืบทอดของมุฮัมมัด |
การถือปฏิบัติ | ละหมาด, ให้ของขวัญ, กินเลี้ยง, อ่าน ดุอานุดบะฮ์ |
วันที่ | 18 Dhu al-Hijjah |
อีดิลเฆาะดีร (อาหรับ: عید الغدیر) หรือที่ไทยเรียกว่า วันอีดฆอดีรคุม เป็นวันฉลองของชีอะฮ์ที่จัดในวันที่ 18 ซุลฮิจญะฮ์ ในช่วงเวลาที่ศาสดามุฮัมมัดแต่งตั้งให้อะลี อิบน์ อบีฏอลิบ เป็นผู้สืบทอดของท่าน รายงานจากฮะดีษ อีดนี้ถูกตั้งชื่อว่า "อีดุลลอฮุลอักบัร" (เปอร์เซีย:عیدالله الاکبر),[1] "อีด อะฮ์ลุลบัยต์ มุฮัมมัด"[2][3] และอัชร็อฟ อัลอะยาด[4][5]
ต้นกำเนิด[แก้]
10 ปีหลังการอพยพ (ฮิจเราะฮ์) ศาสดามุฮัมมัดสั่งให้ผู้ศรัทธาเรียกผู้คนทั่วทุกสารทิศเพื่อมมาร่วมฟังท่านในฮัจญ์อำลา นักวิชาการอิสลามเชื่อว่ามีผู้คนมามักกะฮ์เพื่อฟังมุฮัมมัดถึง 70,000 คน ในวันที่ 4 ซุลฮิจญะฮ์ มีมุสลิมมาที่ตัวเมืองกว่า 100,000 คน[6][7] ในขณะกลับจากพิธีฮัจญ์ในวันที่ 18 ซุลฮิจญะะฮ์ ฮ.ศ. 10 (มีนาคม ค.ศ. 632) ณ บริเวณที่รู้จักกันในชื่อเฆาะดีรคุมม์ มุฮัมมัดได้กล่าวคำเทศนา แล้วเรียกอะลี อิบน์ อบีฏอลิบ ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องและลูกเขยของท่าน และกล่าวว่า, "ใครก็ตามที่มีฉันเป็น เมาลา อะลีก็เป็นเมาลาของพวกเขาเช่นกัน" ( مَن کُنتُ مولاه فَهذا علیّ مولاه أللهم والِ من والاه و عادِ من عاداه)[8] ในขณะที่ความหมายของคำว่า เมาลา อาจแปลได้หลายแบบ รวมไปถึง "เพื่อน" หรือ "เจ้านาย" ในมุมมองชีอะฮ์ถือเป็นอันที่สอง และเห็นว่าการเทศาครั้งนั้นคือการยืนยันว่าอะลีเป็นผู้สืบทอดของมุฮัมมัดอย่างเป็นทางการ[9] ผลที่ตามมา วันที่มีการเทศนาถือเป็นวันที่สำตัญของชีอะฮ์ในชื่อ "อีดิลเฆาะดีร"[10][11]
การฉลอง[แก้]
บรรดาชีอะฮ์จะยึดตามวิถีที่สืบทอดกันมาในการจักงานรื่นเริงในสถานที่ต่างๆ ทั้งมัสยิดต่าง ๆ, ฮุซัยนียะฮ์และที่อื่น ๆ เหมือนกับอีดสำคัญอื่น ๆ เช่น อีดิลฟิตร์, อีดกุรบ่าน ต่างกับนิกานซุนนีที่จะไม่มีการฉลองใด ๆ ในเรื่องนี้และไม่มีความเชื่อว่าหลังจากท่านศาสดาจะมีใครถูกแนะนำให้เป็นตัวแทน[12]
ชีอะฮ์ทั่วโลกฉลองในวันนี้ทุกปี[13][14] ในแต่ละประเทศ ได้แก่ ประเทศอิหร่าน,[15][16][17] อินเดีย, ปากีสถาน, อาเซอร์ไบจาน,[18] อิรัก,[19][20] สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, เยเมน, อัฟกานิสถาน, เลบานอน, บาห์เรน และซีเรีย และในแถบยุโรปกับอเมริกา ได้แก่ สหรัฐ, สหราชอาณาจักร, เยอรมัน และฝรั่งเศส[21][22][23][24]
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Al-Hurr al-Aamili, Wasā'il al-Shīʿa, V.8, P.89
- ↑ The celebration of Ghaidr mashreghnews.ir Retrieved 15 Sep 2018
- ↑ Sayyed Ibn Tawus, Iqbal al-A'mal, V.2, P.261
- ↑ Eid Ghadir (Ghadeer) yjc.ir
- ↑ Muhammad ibn Ya'qub al-Kulayni, Kitab al-Kafi, V.4, P.148
- ↑ Ghadir Khum เก็บถาวร 2020-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน al-islam.org
- ↑ Event of Ghadir Khumm Irfan.ir
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-22. สืบค้นเมื่อ 2018-02-15.
- ↑ Vaglieri, Laura Veccia (2012). "G̲h̲adīr K̲h̲umm". Encyclopædia of Islam, Second Edition. Brill Online. สืบค้นเมื่อ 11 October 2019.
{{cite encyclopedia}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Lindsay, James E. (1957). Daily Life in the Medieval Islamic World. Greenwood Press. p. 163.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - ↑ Campo, Juan Eduardo (2009). Encyclopedia of Islam. Infobase Publishing. pp. 257–58.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - ↑ "Eid-ul-Ghadeer". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-21. สืบค้นเมื่อ 2018-02-15.
- ↑ The celebration of the event of Ghadir Khum irna.ir
- ↑ Eid (feast) Ghadir-Khum afkarnews.com
- ↑ Ghadir Khum (Eid) เก็บถาวร 2018-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน farsnews.ir
- ↑ Ghadir celebration, Ahwaz, Iran aparat.com
- ↑ Ghadir celebration เก็บถาวร 2020-06-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน irinn.ir Retrieved 22 Sep 2018
- ↑ Islamic countries, Eid Ghadir Khum hawzah.net
- ↑ Iraq, Eid Ghadir-Khum alalam.ir Retrieved 22 Sep 2018
- ↑ Eid Ghadir Khum, Iraq shia-news.com Retrieved 22 Sep 2018
- ↑ Ghadir Khum, celebration เก็บถาวร 2020-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน alkawthartv.com
- ↑ Eid Ghadir-Khum, in Georgia เก็บถาวร 2020-06-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน iribnews.ir
- ↑ The celebration of Ghadir, in Saudi Arabia shia-news.com
- ↑ Ghadir celebration in various countries of the world iqna.ir
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- What is Ghadir Khum?
- Ghadir, the Greatest Eid of All Religions
- Did the Prophet(s) appoint a successor? (Narrations from Sunni Sources)
- Map of Ghadeer เก็บถาวร 2013-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน—Showing distance from Mecca, almost halfway between Medina and Mecca.
- An Exegesis of the Qur`anic Verses Indicating the Incident of Ghadir Khumm (Citations from Sunni Sources)
- What is Eid-al-Ghadir and why do Shia Muslims celebrate it?
- Why do Shias celebrate Eid-e-Ghadeer?
- Sermon of Ameerul Momineen(asws) at Ghadeer http://www.wilayatmission.com/GhadeerEng.html (Sermon of Ameerul Momineen(asws) at Ghadeer)
- Eid-e Ghadir[ลิงก์เสีย]
- The Event of Ghadir Khumm (citations and interpretations) from Various Sunni Sources
- (Sermon of Ameerul Momineen(asws) at Ghadeer)
- The Sermon of the Holy Prophet (S.A.W.) in Ghadir Khum เก็บถาวร 2013-10-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Ghadir Khumm - Interesting Aspects of a Unique Event
- What Happened at Ghadeer Khumm เก็บถาวร 2012-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- خطابه غدیر (Arabic)
- The event of Ghadeer Khum in Quran, Sunnah & History (Sunni perspective) เก็บถาวร 2017-11-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- خطابه غدیر
- Map of Ghadeer showing distance from Mecca, almost halfway between Medina and Mecca เก็บถาวร 2013-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Ghadir, the Greatest Eid of All Religions เก็บถาวร 2013-08-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The Event of Ghadir Khumm in the Qur'an, Hadith, History
- http://www.utm.thaqalayn.org/files/ghadeer.pdf เก็บถาวร 2012-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Ghadir Khumm
- Event of Ghadir Khumm เก็บถาวร 2012-02-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- غدیر خم، دانشنامه اسلامی
- غدیرستان
- پایگاه تحقیقاتی غدیر