ข้ามไปเนื้อหา

ฉบับร่าง:อาชญากรรมที่ปราศจากผู้เสียหาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อาชญากรรมที่ปราศจากผู้เสียหาย เป็นอาชญากรรมที่ไม่มีเหยื่อ หรือผู้เสียหาย หรืออาจจะกล่าวได้ว่าผู้กระทำความผิดเป็นทั้งอาชญากรและเป็นเหยื่อไปพร้อม ๆ กัน ความผิดตกเป็นเหยื่อเสียเอง และมักเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนศีลธรรมอันดีของประชาชนและมีกฏหมายอาญาบัญญัติเป็นความผิด[1]คำนิยามของอาชญากรรมที่ปราศจากผู้เสียหายแตกต่างกันไปในแต่ละส่วนของโลกและแต่ละ ระบบกฎหมาย[1]อาชญากรรมประเภทนี้มักจะรวมถึงการครอบครอง ของต้องห้าม ที่ผิดกฎหมายใด ๆ, การใช้ยาเสพติดเพื่อความบันเทิง, การค้าประเวณี และ ข้อห้ามทางเพศ ระหว่างผู้ใหญ่ที่ยินยอมกันเอง, การฆ่าตัวตายโดยมีผูช่วยเหลือ, และ การลักลอบนำเข้า ท่ามกลางการละเมิดที่คล้ายคลึงกันอื่น ๆ [1][2]

คำนิยาม

[แก้]

ตามคำกล่าวของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยชิคาโก จิม ไลท์เซ ระบุว่า ลักษณะสามประการที่สามารถนำมาใช้ระบุว่าได้ว่าอาชญากรรมเป็นอาชญากรรมที่ปราศจากผู้เสียหายหรือไม่ หากการกระทำนั้นเกินขอบเขต บ่งบอกถึงรูปแบบพฤติกรรมที่ชัดเจน และผลกระทบด้านลบส่งผลเฉพาะต่อบุคคลที่กระทำเท่านั้น[3]

ในทางทฤษฎี แต่ละรัฐกำหนดกฎหมายของตนเองเพื่อเพิ่มความสุขของประชาชนให้มากที่สุด แต่เนื่องจากความรู้ พฤติกรรม และค่านิยมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ กฎหมายในประเทศส่วนใหญ่จึงล้าหลังจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเหล่านี้อย่างมาก เมื่อประชาชนส่วนใหญ่เชื่อว่ากฎหมายดังกล่าวไม่จำเป็น

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Fletcher, Robin (October 30, 2019). "Victimless crime". Victimless Crime. Oxford Bibliographies Online. doi:10.1093/OBO/9780195396607-0272. ISBN 978-0-19-539660-7.
  2. Black's Law Dictionary. St. Paul, MN: West Publishing Company. 2004.
  3. Hughes, B.T. (2015). "Strictly Taboo: Cultural Anthropology's Insights into Mass Incarceration and Victimless Crime". New England Journal on Criminal & Civil Confinement. 41 (1): 49–84. SSRN 2436576.

อ่านหนังสือเพิ่ม

[แก้]