สะใภ้จ้าว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สะใภ้จ้าว
ประเภทละครโทรทัศน์
เขียนโดยบทประพันธ์ :
รจนา
บทโทรทัศน์ :
วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน
Sanctuary
กำกับโดยชนินทร ประเสริฐประศาสน์[1]
แสดงนำพ.ศ. 2545
สหรัถ สังคปรีชา
สุนิสา เจทท์
พ.ศ. 2558
ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ
พิจักขณา วงศารัตนศิลป์
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย ประเทศไทย
ภาษาต้นฉบับภาษาไทย
จำนวนตอน17 ตอน (2558)
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิตอรุโณชา ภาณุพันธุ์
ความยาวตอน150 นาที (2558)
บริษัทผู้ผลิตบรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น[2]
ออกอากาศ
เครือข่ายสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
ออกอากาศ12 ตุลาคม –
7 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สะใภ้จ้าว เป็นละครโทรทัศน์ไทย ละครพีเรียดแนวโรแมนติกคอมเมดี้ ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ "รจนา" หรือ สุภาว์ เทวกุล ถูกนำมาสร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2545 ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ผลิตโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น โดยผู้จัดละคร อรุโณชา ภานุพันธุ์ นำแสดงโดย สหรัถ สังคปรีชา และ สุนิสา เจทท์ ออกอากาศทุกวันศุกร์–เสาร์–อาทิตย์ เวลา 20.20 – 22.20 น. เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2545 – 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 และในปี พ.ศ. 2558 ได้มีการนำกลับมาสร้างเป็นละครอีกครั้ง นำแสดงโดย ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ และ พิจักขณา วงศารัตนศิลป์ ผลิตโดยบริษัทและผู้จัดละครเดียวกันกับเวอร์ชันก่อน และออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันจันทร์–อังคาร เวลา 20.20 – 22.50 น. ระหว่างวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 25587 ธันวาคม พ.ศ. 2558

นักแสดง[แก้]

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2558
สถานีออกอากาศ ช่อง 3
ผู้สร้าง บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น
บทโทรทัศน์ วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน
Sanctuary
ผู้กำกับการแสดง โชติรัตน์ รักเริ่มวงษ์ ชนินทร ประเสริฐประศาสน์
บทบาท นักแสดงหลัก
หม่อมราชวงศ์ กิตติราชนรินทร์ วุฒิวงศ์ (คุณชายรอง) สหรัถ สังคปรีชา ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ
สาลิน ภักดีนฤนาถ (สา) สุนิสา เจทท์ พิจักขณา วงศารัตนศิลป์
หม่อมราชวงศ์ บดินทราชทรงพล วุฒิวงศ์ (คุณชายเล็ก) สราวุธ มาตรทอง ธีรเดช เมธาวรายุทธ
ศรีจิตรา ภักดีนฤนาถ (ศรี) อินทิรา แดงจำรูญ ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์
อัศนีย์ เถลิงการ ณัฐนันท์ คุณวัฒน์ ปรมะ อิ่มอโนทัย
หม่อมราชวงศ์หญิง เทพีเพ็ญแสง รัชนีกุล (คุณหญิงก้อย) พิชญ์นาฏ สาขากร อัฐมา ชีวนิชพันธ์
บทบาท นักแสดงสมทบ
เสด็จพระองค์หญิง นันทวัน เมฆใหญ่ สาวิตรี สามิภักดิ์
จิตริณี มนัสวีร์ กฤตตานุกูล พริมรตา เดชอุดม
หม่อมราชวงศ์หญิง ศศิรัชนี รัชนีกุล (คุณหญิงกลาง) ศานันทินี พันธุ์ชูจิตร ณิชชาพัณณ์ ชุณหะวงศ์วสุ
จรวย/จรวย วุฒิวงศ์ ณ อยุธยา เบญจวรรณ เทิดทูนกุล ลักขณา วัธนวงส์ศิริ
วิรงรอง ชุลีกร กฤษณะเศรณี ภคมน บุณยะภูติ
จิตติณ ทัตพงษ์ พงษทัต พัฒนพล มินทะขิน
ศุภร เมธา ชูลาภ ศุภชัย สุวรรณอ่อน
คุณสอางค์ ภักดีนฤนาถ พิศมัย วิไลศักดิ์ นัฎฐา ลอยด์
อุ่นเรือน ภักดีนฤนาถ วาสนา สิทธิเวช ขวัญฤดี กลมกล่อม
หม่อม อำพัน วุฒิวงศ์ ณ อยุธยา พิราวรรณ ประสพศาสตร์ พิมพ์ผกา เสียงสมบุญ
คุณสร้อย ภักดีนฤนาถ อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ วราพรรณ หงุ่ยตระกูล
หม่อม วาณี รัชนีกุล ณ อยุธยา นวลปรางค์ ตรีชิต ชนานา นุตาคม
คุณนายพุดซ้อน อรสา พรหมประทาน ดีใจ ดีดีดี
ยายของสาลินและศรีจิตรา จุรี โอศิริ โฉมฉาย ฉัตรวิไล
ตาของสาลินและศรีจิตรา สมชาย สามิภักดิ์ คมกฤช ยุตติยงค์
นมย้อย มารศรี ณ บางช้าง ศิริพร วงศ์สวัสดิ์
ไนเจล ปีเตอร์ ธูนสตระ
ลลิตา อรัญญา ประทุมทอง เขมิกา สุขประสงค์ดี
บราลี พุทธชาด พงศ์สุชาติ ลิลลี่ แม็คกร๊าธ
ชบาทิพย์ (ชบา) กัญญา ไรวินท์ อนุสรา วันทองทักษ์
หม่อมราชวงศ์ ดิเรกราชวิทย์ วุฒิวงศ์ (คุณชายโต) มานะ เนตรสำลี ชานนท์ ทิพกนก
หนุ่มแว่น ธนกฤต อยู่โต
ฉัตรอาชา จักรพันธ์ ตัณฑะสุวรรณะ
เลื่อมประภัส อรัญญา พรหมเงิน​ เนรัญญา มะชะรา
ยายพิณ มยุรี อิศรเสนา ณ อยุธยา
ตาผล อัฐพล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
ป้าน้อม นภาพร หงสกุล รุ่งกานดา เบญจมาภรณ์
พิศ ปาริชาต รักมาก
เจียม ภาวินีย์ จูไต๋
มาลา นันท์นิชา ดิษฐ์พาณิชย์
วรรณา ลักขณา บุญบุตร
กำไล นิโลบล วงศ์ภัทรนนท์
แกละ ด.ช.อเล็กซานเดอร์ เรนเดลล์ ด.ช.ณัทวัตร ศรีระกิจ
บทบาท นักแสดงรับเชิญ
หม่อมเจ้าจันทร์ส่องหล้า รัชนีกุล (ท่านจันทร์) สุเชาว์ พงษ์วิไล เผ่าทอง ทองเจือ
ทองนพคุณ ณัฐนี สิทธิสมาน
อรรถ วิสรรค์ ฉัตรรังสิกุล
สมชาย วิศววิท แซ่อุ้ย
โสภาพรรณ ชนิกา สุจริตกุล​ ซูซานน่า เรโนล
หม่อมราชวงศ์กิตติราชนรินทร์ วุฒิวงศ์ (คุณชายรอง) (ตอนเด็ก) ด.ช.อิศรา กิจนิตย์ชีว์ ด.ช.ปัญกร จันทศร
สาลิน ภักดีนฤนาถ (สา) (ตอนเด็ก) ด.ญ.พิมประภา ตั้งประภาพร ด.ญ.ชินารดี อนุพงษ์ภิชาติ
หม่อมราชวงศ์บดินทราชทรงพล วุฒิวงศ์ (คุณชายเล็ก) (ตอนเด็ก) ด.ช.อิสระ เจมส์ แมคแคนซี่ ด.ช.ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์
ศรีจิตรา ภักดีนฤนาถ (ศรี) (ตอนเด็ก) ด.ญ.วรภร เลิศเกียรติไพบูลย์ ด.ญ.กุลฑีรา ยอดช่าง
หม่อมหลวงจรูญราชวิทย์ วุฒิวงศ์/คุณตุ้ม ด.ช.

เพลงประกอบละคร[แก้]

พ.ศ. 2545[แก้]

ลำดับ ชื่อเพลง ศิลปิน คำร้อง ทำนอง เรียบเรียง
1 ใจเอย มาช่า วัฒนพานิช ปิติ ลิ้มเจริญ ประกาศิต โบสุวรรณ
2 อยากจะบอกให้เธอรู้ สหรัถ สังคปรีชา วิสูตร แสงอรุณเลิศ สหรัถ สังคปรีชา สหรัถ สังคปรีชา
RUBA MOSAN

พ.ศ. 2558[แก้]

ลำดับ ชื่อเพลง ศิลปิน คำร้อง ทำนอง เรียบเรียง
1 ความคิดถึงแกล้งกัน อาภาภัทร ภูมิภักดิ์ ณรงค์วิทย์ เตชะธนะวัฒน์ BANANA BOAT
2 คนใกล้ตัว อนุสรณ์ มณีเทศ อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์ BANANA BOAT
3 เส้นทางหัวใจ บัวชมพู ฟอร์ด ปรเมศวร์ เหมือนสนิท

รางวัล[แก้]

ผู้มอบรางวัล สาขารางวัล ผล
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 30[3]
ดาราสนับสนุนชายดีเด่น (ธีรเดช เมธาวรายุทธ) เสนอชื่อเข้าชิง
บทละครโทรทัศน์ดีเด่น (วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน) ได้รับรางวัล

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดประวัติ เติม ชนินทร ผู้ล่วงลับ รายชื่อกำกับละครดังมากมาย". ไทยรัฐ. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
  2. "สะใภ้จ้าว - เว็บไซต์บรอดคาสท์ฯ". broadcastthai.com. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
  3. สุดแค้นแสนรัก คว้าละครดีเด่นแห่งปี ป๋อ อ้อม ชิวรางวัลนำชายนำหญิง ในประกาศรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 30 ประจำปี 2558 เก็บถาวร 2016-03-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน truelife

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]