ข้ามไปเนื้อหา

สภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน

中国人民政治协商会议

จงกั๋วเหรินหมินเจิ้งจื้อเสียชางฮุ่ยอี้
สภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน ชุดที่ 14
ประเภท
ประเภท
แนวร่วม
องค์กรเพื่อความร่วมมือหลายฝ่ายและการให้คำปรึกษาทางการเมือง
การประชุมตามรัฐธรรมนูญ (ในอดีต)
ประวัติ
ก่อตั้ง21 กันยายน พ.ศ. 2492; 75 ปีก่อน
ก่อนหน้ารัฐสภา
ผู้บริหาร
องค์กรหลัก
การประชุมใหญ่และคณะกรรมาธิการประจำของคณะกรรมาธิการแห่งชาติ CPPCC
การประชุมใหญ่ของ CPPCC (ในอดีต)
โครงสร้าง
สมาชิกสภาประชาชนแห่งชาติ-สภาที่ปรึกษาฯ: 2,158
คณะกรรมาธิการประจำสภาประชาชนแห่งชาติ-สภาที่ปรึกษาฯ: 324
กลุ่มการเมืองใน
สภาประชาชนแห่งชาติ-สภาที่ปรึกษาฯ
  พรรคคอมมิวนิสต์จีน, พรรคอื่น ๆ, และ อิสระ (544)

  องค์กรประชาชน (315)
  ตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ (1010)

  บุคคลที่ได้รับเชิญเป็นพิเศษ (136)
กลุ่มการเมืองใน
คณะกรรมาธิการประจำสภาประชาชนแห่งชาติ-สภาที่ปรึกษาฯ
  พรรคคอมมิวนิสต์จีน, พรรคอื่น ๆ, และ อิสระ (193)

  องค์กรประชาชน (30)
  ตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ (67)
  บุคคลที่ได้รับเชิญเป็นพิเศษ (33)

  ว่าง (1)
ระยะวาระ
5 ปี
ที่ประชุม
มหาศาลาประชาชน เขตซีเฉิง กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
เว็บไซต์
en.cppcc.gov.cn แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
สภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน
อักษรจีนตัวย่อ
อักษรจีนตัวเต็ม
Short form
อักษรจีนตัวย่อ人民政协
อักษรจีนตัวเต็ม人民政協
ความหมายตามตัวอักษรการปรึกษาหารือทางการเมืองของประชาชน
Shortest form
อักษรจีนตัวย่อ政协
อักษรจีนตัวเต็ม政協
ความหมายตามตัวอักษรการปรึกษาหารือทางการเมือง
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ (3)
อักษรจีนตัวย่อ新政协
อักษรจีนตัวเต็ม新政協
ความหมายตามตัวอักษรการปรึกษาหารือทางการเมืองใหม่

สภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีน (CPPCC; จีน: 中国人民政治协商会议; พินอิน: Zhōngguó Rénmín Zhèngzhì Xiéshāng Huìyì ) เป็นองค์กรที่ปรึกษาทางการเมืองในสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นศูนย์กลางของระบบแนวร่วมของพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นทางการเมืองและสังคมแก่หน่วยงานภาครัฐ[1] อย่างไรก็ตาม CPPCC เป็นองค์กรที่ไม่มีอำนาจนิติบัญญัติที่แท้จริง[2]

ตามธรรมเนียมองค์กรประกอบด้วยผู้แทนจากพรรคคอมมิวนิสต์จีน องค์กรของประชาชน และพรรคการเมือง 8 พรรคที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ซึ่งอยู่ภายใต้พรรคคอมมิวนิสต์จีน รวมถึงสมาชิกอิสระในนาม [3] [4] [5] CPPCC มีสมาชิกคณะกรรมาธิการประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จันเป็นประธาน เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์แนวร่วม สมาชิกที่ระดับสูงที่ไม่ใช่พรรคคอมมิวนิสต์จีนจะได้ดำรงตำแหน่งรองประธาน ตัวอย่างเช่น เฉิน ชูทง, หลี่ จี้เชิน และซ่ง ชิ่งหลิง[6]

ลำดับชั้นองค์กรของ CPPCC ประกอบด้วยคณะกรรมการระดับชาติและภูมิภาค คณะกรรมการระดับภูมิภาคขยายไปถึงระดับ จังหวัด มณฑล และระดับอำเภอ[7][8] สภาที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชนจีนมักจะจัดการประชุมประจำปีพร้อมกับการประชุมเต็มคณะของสภาประชาชนแห่งชาติ

ประวัติ

[แก้]

บทบาทในปัจจุบัน

[แก้]

คณะกรรมาธิการแห่งชาติ

[แก้]

คณะกรรมาธิการระดับภูมิภาค

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Tiezzi, Shannon (4 March 2021). "What Is the CPPCC Anyway?". The Diplomat. สืบค้นเมื่อ 21 August 2022.
  2. Colin Mackerras; Donald Hugh McMillen; Andrew Watson (2001). Dictionary of the Politics of the People's Republic of China. London: Routledge. p. 70. ISBN 0-203-45072-8. OCLC 57241932.
  3. Pauw, Alan Donald (1981). "Chinese Democratic Parties as a Mass Organization". Asian Affairs. 8 (6): 372–390. doi:10.1080/00927678.1981.10553834. ISSN 0092-7678. JSTOR 30171852.
  4. Rees-Bloor, Natasha (2016-03-15). "China's largest political conference – in pictures". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2020-09-13.
  5. "The United Front in Communist China" (PDF). Central Intelligence Agency. May 1957. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ January 23, 2017. สืบค้นเมื่อ June 10, 2020.
  6. Shih, Wen (1963-03-01). "Political Parties in Communist China". Asian Survey (ภาษาอังกฤษ). 3 (3): 157–164. doi:10.2307/3023623. ISSN 0004-4687. JSTOR 3023623.
  7. Bowe, Alexander (August 24, 2018). "China's Overseas United Front Work: Background and Implications for the United States" (PDF). United States-China Economic and Security Review Commission. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ September 9, 2018. สืบค้นเมื่อ May 12, 2019.
  8. Dotson, John (May 29, 2020). "Themes from the CPPCC Signal the End of Hong Kong Autonomy—and the Effective End of the "One Country, Two Systems" Framework". Jamestown Foundation (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-07. สืบค้นเมื่อ 2020-06-03.