สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี้เป็นหน้าย่อยสำหรับภาพคัดสรรของสถานีย่อย: การบินอวกาศ. หน้านี้บรรจุจดหมายเหตุของภาพคัดสรรในอดีต, ปัจจุบัน และอนาคต

การใช้[แก้]

แบบแผนที่ใช้ในการจัดรูปแบบของหน้าย่อยพวกนี้อยู่ที่ สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร/แบบแผน

  1. เพิ่มภาพคัดสรรใหม่ ณ หน้าย่อยถัดไปที่มีอยู่
  2. อัพเดต "max=" ให้เท่ากับผลรวมใหม่ของจำนวนภาพคัดสรร ใน {{Random subpage}} บนหน้าหลัก

ภาพคัดสรร[แก้]

ภาพคัดสรรที่ 1[แก้]

กระสวยอวกาศ โคลัมเบีย ก่อนการบินครั้งแรก, STS-1
กระสวยอวกาศ โคลัมเบีย ก่อนการบินครั้งแรก, STS-1
เครดิต: NASA/KSC, Image ID: KSC-81PC-0136 [1]

ภาพเปิดรับแสงตามกำหนดเวลาของกระสวยอวกาศ โคลัมเบีย บนแท่นปล่อยจรวดหมายเลข 39A ณ ศูนย์อวกาศเคนเนดี ในการเตรียมสำหรับการบินครั้งแรก, STS-1 ทางด้านซ้ายของกระสวย เป็นโครงสร้างบริการแบบตายตัวและแบบหมุน




ภาพคัดสรรที่ 2[แก้]

ยานลงดวงจันทร์ ของภารกิจ อะพอลโล 16 บนพื้นผิวของดวงจันทร์
ยานลงดวงจันทร์ ของภารกิจ อะพอลโล 16 บนพื้นผิวของดวงจันทร์
เครดิต: NASA photo AS16-116-18580, cropped

ยานลงดวงจันทร์ ของภารกิจ อะพอลโล 16 บนพื้นผิวของดวงจันทร์




ภาพคัดสรรที่ 3[แก้]

HTV-1 มาถึง สถานีอวกาศนานาชาติ.
HTV-1 มาถึง สถานีอวกาศนานาชาติ.
เครดิต: NASA - image source

ภาพมุมใกล้ของยานอวกาศญี่ปุ่นไร้คนขับ , พาหนะขนส่งเสบียง H-II (HTV) ลำแรก, ถูกจับโดยแขนยนต์ Canadarm2 ของสถานีอวกาศนานาชาติ. ลูกเรือของ Expedition 20 ใช้แขนยนต์ของสถานีอวกาศในการจับยานขนส่งเสบียง และต่อมันเข้ากับช่องเทียบยาน ด้านที่หันเข้าสู่โลก ของ Harmony node.




ภาพคัดสรรที่ 4[แก้]

การปล่อยวอยเอจเจอร์ 2 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977
การปล่อยวอยเอจเจอร์ 2 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977
เครดิต: NASA

วอยเอจเจอร์ 2 ถูกปล่อยเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 บนจรวดไททัน IIIE พร้อมกับส่วนจรวดที่สาม เซนทอร์, และส่วนจรวดเพิ่มเติม สตาร์-37 ถึงแม้ว่าจะถูกปล่อย 16 วันก่อน วอยเอจเจอร์ 1 วอยเอจเจอร์ 2 ถูกวางในเส้นทางที่อ้อมกว่าไปยังดาวพฤหัสบดีและ ดาวเสาร์, ซึ่งจะทำให้มันสามารถเข้าสู่วิถีผ่าน ดาวยูเรนัสและ ดาวเนปจูน, แล้วจึงทำให้โครงการแกรนด์ทัวร์สำเร็จ




ภาพคัดสรรที่ 5[แก้]

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
เครดิต: NASA - ที่มาภาพ

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ดังที่เห็นเคลื่อนออกจาก กระสวยอวกาศแอตแลนติส ในภารกิจ STS-125 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลถูกปล่อยเมื่อเดือนเมษายน 1990 บนกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี ภาพนี้ถูกถ่ายในเดือนพฤษภาคม 2009




ภาพคัดสรรที่ 6[แก้]

รอยรองเท้าของบัซซ์ อัลดริน บนพื้นผิวดวงจันทร์
รอยรองเท้าของบัซซ์ อัลดริน บนพื้นผิวดวงจันทร์
เครดิต: NASA / Buzz Aldrin - [2]

รอยรองเท้าของบัซซ์ อัลดริน บน พื้นผิวดวงจันทร์ ในภารกิจ อะพอลโล 11.




ภาพคัดสรรที่ 7[แก้]

ภาพของ แผ่นจารึกไพโอเนียร์
ภาพของ แผ่นจารึกไพโอเนียร์
เครดิต: NASA Ames Research Center

ภาพของแผ่นจารึกไพโอเนียร์ ชื่อดังบนยานอวกาศ ไพโอเนียร์ 10 จาก NASA, ข้อความทางรูปภาพสำหรับ สิ่งมีชีวิตนอกโลกใด ๆ ที่อาจจะเข้ามาพบ และสกัดยานอวกาศ มันประกอบไปด้วยแผนภาพสลักลงไปบนแผ่นอะลูมิเนียมชุมทอง, 152 โดย 229 มิลลิเมตร (6 โดย 9 นิ้ว), ติดของกับโครงสร้างรองรับเสาอากาศของยานอวกาศ เพื่อช่วยป้องกันมันจากการกัดกร่อนของฝุ่นระหว่างดวงดาว.




ภาพคัดสรรที่ 8[แก้]

กระสวยอวกาศ โคลัมเบีย ปล่อยตัวในภารกิจ STS-78
กระสวยอวกาศ โคลัมเบีย ปล่อยตัวในภารกิจ STS-78
เครดิต: NASA - [3]

กระสวยอวกาศ โคลัมเบีย ปล่อยตัวในภารกิจครั้งที่ 23 ของมัน, STS-78, ในวันที่ 20 มิถุนายน 1996




ภาพคัดสรรที่ 9[แก้]

ยานอวกาศโปรเกรส.
ยานอวกาศโปรเกรส.
เครดิต: NASA - image source

ยานอวกาศโปรเกรส M-61 อย่างที่เห็นได้จาก สถานีอวกาศนานาชาติ ก่อนเข้าเทียบสถานีในเดือนสิงหาคม 2007




ภาพคัดสรรที่ 10[แก้]

จรวดเฮอร์มีส.
จรวดเฮอร์มีส.
เครดิต: NASA - ที่มาภาพ

จรวดทดสอบ เฮอร์มีส เอ-1 ตัวแรก ยิงที่สนามทดสอบไวต์แซนด์ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 1950 สร้างโดยเจเนอรัลอิเล็กทริก โดยมีพื้นฐานมาจากขีปนาวุธพื้นสู่อากาศวาสเซฟัลล์, เฮอร์มีส เอ-1 มีสมรรถภาพในการเข้าถึงความสูง 150 กม.




ภาพคัดสรรที่ 11[แก้]

ภาพถ่ายประกอบพลูโต และชารอน
ภาพถ่ายประกอบพลูโต และชารอน
เครดิต: Johns Hopkins University Applied Physics Laboratory จาก NASA Jet Propulsion Laboratory

นี้คือภาพถ่ายประกอบของ พลูโต และ แครอน ระหว่างการบินผ่านของยานอวกาศ นิวฮอไรซันส์ ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2015. ภาพนี้ถูกรวมกันในแบบที่ตำแหน่งระหว่างกันและขนาดของดาวมั้งสองจะถูกต้อง ภาพทั้งสองถูกถ่ายด้วย กล้องถ่ายภาพหลายคลื่นความถี่ที่มองเห็นได้ (Multispectral Visible Imaging Camera, MVIC) บนส่วนทดลองกล้องโทรทัศน์ Ralph. ภาพของพลูโตถูกถ่ายจากระยะ 240,000 กิโลเมตร (150,000 ไมล์).




ภาพคัดสรรที่ 12[แก้]

{{{คำอธิบาย}}}
{{{คำอธิบาย}}}
เครดิต: NASA - image source

A transit of Earth by the Moon, as photographed by the Deep Space Climate Observatory from the Sun-Earth L1 Lagrangian point. This animation was compiled from a set of 60 frames—20 distinct images, each compiled from monochrome images taken in red, green and blue filters—taken over the course of five hours on July 16, 2015. Each monochrome frame was taken every 30 seconds. Due to the speed of the Moon's motion, this results in a slight green shift in some frames of the animation.




ภาพคัดสรรที่ 13[แก้]

การลงจอดของส่วนแรกของจรวดฟัลคอน 9 ฟูลล์ทรัสต์
การลงจอดของส่วนแรกของจรวดฟัลคอน 9 ฟูลล์ทรัสต์
เครดิต: SpaceX

ส่วนแรกของจรวดฟัลคอน 9 ฟูลล์ทรัสต์ ลงจอดที่เขตลงจอด 1 และ 2, สถานีกองทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล, ระหว่างเที่ยวบินที่ 20 ของจรวดฟัลคอน 9 ณ เวลา 01:38 UTC ในวันที่ 22 ธันวาคม 2015 (20:38, 21 ธันวาคม EST). ในเป็นการลงจอดภาคพื้นดินสำเร็จครั้งแรกของส่วนจรวดแรกที่เคยถูกใช้ในการปล่อยน้ำหนักบรรทุกสู่วงโคจร. น้ำหนักบรรทุกที่มันปล่อยได้แแก่ ดาวเทียม ออร์บคอมม์ จี2 11 ดวง, ถูกวางไว้ในวงโคจรสำเร็จ, การแทรกวงโคจรของมันเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันกับการลงจอดของส่วนแรกจรวด




ภาพคัดสรรที่ 14[แก้]

การปล่อยจรวด เซนิต-3เอสแอล ในตอนเย็น จากฐานส่ง โอดิสซีย์ ของบริษัทซีย์ลันช์
การปล่อยจรวด เซนิต-3เอสแอล ในตอนเย็น จากฐานส่ง โอดิสซีย์ ของบริษัทซีย์ลันช์
เครดิต: Steve Jurvetson - image source

จรวดเซนิต-3เอสแอล ของยูเครน ส่งดาวเทียมสื่อสารทางทหาร SICRAL 1B จากฐานส่ง โอดิสซีย์ ของบริษัทซีย์ลันช์ ที่ตั้งอยู่ในน่านน้ำของประเทศคิริบาส ในวันที่ 30 เมษายน ค.ศ.2009 ซีย์ลันช์เป็นผู้บริการปล่อยจรวดที่มีความแตกต่างจากบริษัทอื่น ซึ่งขนส่งจรวดและน้ำหนักบรรทุกเพื่อไปปล่อย ณ ฐานส่งที่ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีความสามารถในการขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด และสามารถแทรกเข้าสู่ วงโคจรค้างฟ้า ได้โดยตรงโดยที่ไม่ต้องเปลี่ยนระนาบความเอียง ซีย์ลันช์ทำการปล่อยจรวด 36 ครั้งตั้งแต่ ค.ศ. 1999 และมีการล้มเหลวสี่ครั้ง




ภาพคัดสรรที่ 15[แก้]

An Atlas V 551 rocket launches New Horizons on January 19, 2006.
An Atlas V 551 rocket launches New Horizons on January 19, 2006.
เครดิต: NASA - image source

An Atlas V 551 rocket launches from SLC-41, Cape Canaveral Air Force Station, on January 19, 2006, carrying the New Horizons probe, which would visit Pluto on July 14, 2015. It was the first launch with the 551 configuration, its launch augmented by five Aerojet AJ-60A solid-rocket motors, providing a total of 2.7 million lb-f of thrust at liftoff. New Horizons would achieve the fastest velocity at launch of any spacecraft, at 58,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (36,000 ไมล์ต่อชั่วโมง). It was the first spacecraft launched directly into a solar escape trajectory.




ภาพคัดสรรที่ 16[แก้]

SpaceX CRS-8 and Cygnus CRS OA-6 docked to the International Space Station on April 10, 2016.
SpaceX CRS-8 and Cygnus CRS OA-6 docked to the International Space Station on April 10, 2016.
เครดิต: Space.com - [4]

SpaceX CRS-8 and Cygnus CRS OA-6 docked to the International Space Station on April 10, 2016. This is the first time that both types of the Commercial Resupply Services spacecraft—SpaceX Dragon and Orbital ATK Cygnus—were docked at the same time to the ISS. At this time, Dragon was docked to the Harmony nadir port, while Cygnus was docked to the Unity nadir port.




ภาพคัดสรรที่ 17[แก้]

เครื่องยนต์จรวดเมอร์ลินยี่สิบเจ็ดตัวจุดระเบิดระหว่างการปล่อยจรวด ฟัลคอน เฮฟวี
เครื่องยนต์จรวดเมอร์ลินยี่สิบเจ็ดตัวจุดระเบิดระหว่างการปล่อยจรวด ฟัลคอน เฮฟวี
เครดิต: สเปซเอ็กซ์

เครื่องยนต์จรวดเมอร์ลินยี่สิบเจ็ดตัวจุดระเบิดระหว่างการปล่อยจรวด ฟัลคอน เฮฟวี ณ ฐานปล่อยจรวด 39A ,ศูนย์อวกาศเคนเนดี จรวดบรรทุกดาวเทียมสื่อสาร ArabSat-6A ไปสู่วงโคจรพ้องคาบโลก เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2019




ภาพคัดสรรที่ 18[แก้]

สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร/18




ภาพคัดสรรที่ 19[แก้]

สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร/19




ภาพคัดสรรที่ 20[แก้]

สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร/20




ล้างแคชเซิร์ฟเวอร์

การเสนอชื่อ[แก้]

อย่าลังเลที่จะเพิ่มภาพเด่น ๆ หรือภาพดีๆลงในรายการด้านบน คุณสามารถเสนอชื่อภาพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การบินอวกาศ ได้ที่นี่

ปัจจุบัน[แก้]

ภาพคัดสรรประจำเดือนเมษายน 2024[แก้]

สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร/เมษายน 2024

หอจดหมายเหตุ[แก้]

สำหรับภาพคัดสรรที่เก่ากว่านี้, โปรดดูหอจดหมายเหตุ

2020[แก้]

การเสนอชื่อ[แก้]

ไม่มีการเสนอชื่อในขณะนี้

แบบ[แก้]

{{สถานีย่อย:การบินอวกาศ/ภาพคัดสรร/แบบ|ชื่อภาพ|คำอธิบาย|ขนาด (ไม่จำเป็น)}}