เครื่องอิสริยาภรณ์เกาหลีใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ต่อไปนี้คือรายการเครื่องอิสริยาภรณ์และเกียรติยศจากสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งมอบให้ทั้งพลเมืองเกาหลีใต้และชาวต่างประเทศ

เครื่องอิสริยาภรณ์และเหรียญ[แก้]

เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณ (เกาหลี훈장; ฮันจา勳章) และเหรียญแห่งเกียรติยศ (포장; 襃章) มอบโดยประธานาธิบดีเกาหลีใต้ สำหรับผู้กระทำคุณประโยชน์และเสริมสร้างพัฒนาประเทศเกาหลีใต้ โดยเครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณของเกาหลีใต้จะแบ่งไปตามศาสตร์ต่างๆ ซึ่งเครื่องอิสริยาภรณ์แรกของเกาหลีใต้คือ เครื่องอิสริยาภรณ์มกูฮวา สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2492[1][2]

เครื่องอิสริยาภรณ์[แก้]

  • เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งการทูต
    • ชั้นที่ 1 ประเภทที่ 1 (เหรียญควางฮวาแดจัง)
    • ชั้นที่ 1 ประเภทที่ 2 (เหรียญกวางฮวา)
    • ชั้นที่ 2 (เหรียญเฮืองอิน)
    • ชั้นที่ 3 (เหรียญซองยอล)
    • ชั้นที่ 4 (เหรียญชางกุย)
    • ชั้นที่ 5 (เหรียญซุกจอง)
  • เครื่องอิสริยาภรณ์วัฒนธรรม
    • ชั้นที่ 1 (เหรียญกึมกวัน)
    • ชั้นที่ 2 (เหรียญอึนกวัน)
    • ชั้นที่ 3 (เหรียญโบกวัน)
    • ชั้นที่ 4 (เหรียญอ็อกกวัน)
    • ชั้นที่ 5 (เหรียญฮวากวัน)
  • เครื่องอิสริยาภรณ์กีฬา
    • ชั้นที่ 1 (เหรียญชอนนยอง)
    • ชั้นที่ 2 (เหรียญแมงโฮ)
    • ชั้นที่ 3 (เหรียญกอซัง)
    • ชั้นที่ 4 (เหรียญแบคม่า)
    • ชั้นที่ 5 (เหรียญกิริน)

เหรียญเกียรติยศ[แก้]

  • เหรียญกิตติคุณสำหรับการสร้างชาติ
  • เหรียญกิตติคุณฝ่ายพลเรือน (ประเทศเกาหลีใต้)
  • เหรียญกิตติคุณฝ่ายทหาร
  • เหรียญกิตติคุณด้านการบริการ
  • เหรัยญกิตติคุณสำหรับการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
  • เหรียญกิตติคุณแห่งการทูต
  • เหรียญกิตติคุณแห่งอุตสาหกรรม
  • เหรียญกิตติคุณแซมาอึล
  • เหรียญเกียรติยศวัฒนธรรม
  • เหรียญเกียรติยศกีฬา
  • เหรียญเกียรติยศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • ทาเล้นท์ มีเดิล ออฟ โคเรีย (ไม่มีการมอบ)

คำยกย่อง[แก้]

คำยกย่อง (ภาษาเกาหลี : 표창) มอบให้กับประชาชนโดยประธานาธิบดีเกาหลีใต้, นายกรัฐมนตรีเกาหลีใต้, หรือส่วนรัฐการกระทรวงต่าง ๆ เพื่อยกย่องในการปฏิบัติรัฐการหรือความเป็นเลิศในด้านใดด้านหนึ่ง[3][4]

คำยกย่องประธานาธิบดี[แก้]

  • เพรสซิเดนเชิล คอมมันเดเชิน
  • รีพับลิค ออฟ โคเรีย เพรสซิเดนเชิล ยูนิท ไซเทเชิน
    • แพรแถบย่อ
    • สตรีมเมอร์แคมเปญ (Campaign Streamer) (ประดับบนธงประจำหน่วยทหาร)

เหรียญนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี[แก้]

โดยนายกรัฐมนตรีและหน่วยงานระดับเดียวกัน[แก้]

  • ไพรม มินนิสเทอะ คอมมันเดเชิน
  • เหรียญข้าราชการที่เป็นแบบอย่าง
  • ประธานกรรมการการเลือกตั้งแห่งชาติยกย่อง

คำยกย่องรัฐมนตรี[แก้]

  • มินนิสเทียเรียล คอมมันเดเชิน
  • เหรียญรัฐมนตรี

โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม[แก้]

  • เหรียญราชการสงครามเกาหลี
  • เหรียญสำหรับการเข้าร่วมในสงครามเวียดนาม
  • เหรียญเข้าร่วมสงครามอ่าว
  • เหรียญสำหรับการบริการที่ซื่อสัตย์ 10 ปี
  • เหรียญสำหรับการบริการที่ซื่อสัตย์ 20 ปี
  • เหรียญสำหรับการบริการที่ซื่อสัตย์ 30 ปี
  • เหรียญบริการการรบแบบกองโจร
  • เหรียญรักษาสันติภาพในต่างแดน
  • เหรียญครบรอบ 10 ปี กองทัพสาธารณรัฐเกาหลี
  • เหรียญครบรอบ 20 ปี กองทัพสาธารณรัฐเกาหลี
  • เหรียญครบรอบ 30 ปี กองทัพสาธารณรัฐเกาหลี
  • เหรียญครบรอบ 40 ปี กองทัพสาธารณรัฐเกาหลี

โดยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[แก้]

  • เหรียญอายุราชการตำรวจ 20 ปี

อ้างอิง[แก้]

  1. 상훈의 발자취 [Tracing the Medals]. Decorations of the Republic of Korea (ภาษาเกาหลี). Ministry of Interior and Safety. 2015. สืบค้นเมื่อ February 13, 2018.
  2. Awards and Decorations Act, Act มาตรา 11690 ประกาศใช้เมื่อ March 23, 2013 Korea Legislation Research Institute (in En, ko). สืบค้นเมื่อ February 13, 2018.
  3. 상훈제도 개관 [Overview of the Honors System]. Decorations of the Republic of Korea (in Korean). Ministry of Interior and Safety. 2015. Retrieved February 13, 2018.
  4. "정부 표창 규정" [Government Commendation Regulations]. Presidential Decree No. 28211 of July 27, 2017. Korea Ministry of Government Legislation (in Korean). Retrieved February 13, 2018.