รางวัลทัวริง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รางวัลเอซีเอ็มทัวริง
รูปปั้นอลัน ทัวริง ของ Stephen Kettle ที่ Bletchley Park
รางวัลสำหรับผลงานที่โดดเด่นใน วิทยาการคอมพิวเตอร์
ประเทศสหรัฐ
จัดโดยสมาคมคอมพิวเตอร์เอซีเอ็ม (ACM)
รางวัล1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ[1]
รางวัลแรก1966; 58 ปีที่แล้ว (1966)
รางวัลสุดท้าย2021
เว็บไซต์amturing.acm.org

รางวัลเอซีเอ็ม เอ. เอ็ม. ทัวริง (อังกฤษ: ACM A. M. Turing Award) เป็นรางวัลที่นับว่ามีเกียรติที่สุดในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์จากสมาคมคอมพิวเตอร์เอซีเอ็ม[2] โดยจะให้กับบุคคลที่สร้างผลงานที่มีคุณค่ามหาศาลและมีประโยชน์ในระยะยาวกับสาขา จนกระทั่งปัจจุบันนี้ นักวิจัยส่วนใหญ่ที่ได้รับรางวัลทัวริงเป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ ถูกตั้งชื่อตาม อลัน ทัวริง ที่เป็นนักคณิตศาสตร์และเป็นหนึ่งในบุคคลที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ยุคใหม่

รางวัลทัวริงนี้ได้รับการยกย่อง (โดยบุคคลส่วนใหญ่) ให้เป็นรางวัลโนเบลสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ รางวัลนี้มีบริษัทอินเทล และกูเกิลเป็นผู้สนับสนุนหลัก โดยผู้รับรางวัลจะได้รางวัลเงินสด 250,000 ดอลลาร์สหรัฐอีกด้วย ก่อนหน้าที่กูเกิลจะเข้ามาร่วมเป็นผู้สนับสนุน อินเทลให้รางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับผู้รับรางวัล[3]

รายชื่อผู้รับรางวัลทัวริง[แก้]

ปี ผู้รับรางวัล รูปถ่าย สถาบันที่สังกัด
1966 แอลัน เพอร์ลิส มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน
1967 มัวริส วิลค์ส มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
1968 ริชาร์ด แฮมมิง เบลล์ แลบส์
1969 มาร์วิน มินสกี สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
1970 เจมส์ เอช. วิลคินสัน ศูนย์ปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ
1971 จอห์น แม็กคาร์ที มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
1972 เอดส์เกอร์ ดับเบิลยู. ดิจก์สตรา Centrum Wiskunde & Informatica,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีไอนด์โฮเฟิน
1973 ชาร์ลส์ แบชแมน General Electric Research Laboratory (ปัจจุบันอยู่ภายใต้ Groupe Bull, an Atos company)
1974 โดนัลด์ คนูธ สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย,
Center for Communications Research, Center for Communications and Computing, Institute for Defense Analyses,
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
1975 อัลเลน เนเวลล์ RAND Corporation,
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน
เฮอร์เบิร์ต เอ. ไซมอน
1976 ไมเคิล โอ. แรบิน มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
ดานา สกอตต์ มหาวิทยาลัยชิคาโก
1977 จอห์น แบกคัส ไอบีเอ็ม
1978 โรเบิร์ต ดับเบิลยู. ฟลอยด์ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน,
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
1979 เคนเนท อี. ไอเวอร์สัน ไอบีเอ็ม
1980 โทนี ฮอร์ Queen's University Belfast,
มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
1981 เอดการ์ เอฟ. คอดด์ ไอบีเอ็ม
1982 สคีเฟน คุก มหาวิทยาลัยโทรอนโต
1983 Ken Thompson เบลล์ แลบส์
เดนนิส ริตชี
1984 นิกเคลาส์ เวิร์ท มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
มหาวิทยาลัยแห่งซือริช,
สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิส ซือริช
1985 ริชาร์ด เอ็ม. คาร์ป มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
1986 จอห์น ฮอปคอฟต์ มหาวิทยาลัยคอร์เนล
รอเบิร์ต ทาร์จัน มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
มหาวิทยาลัยคอร์เนล,
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
1987 จอห์น ค็อก ไอบีเอ็ม
1988 Ivan Sutherland มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด,
มหาวิทยาลัยแห่งยูทาห์,
สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย
1989 William Kahan มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
1990 Fernando J. Corbató สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
1991 Robin Milner มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
มหาวิทยาลัยเอดินบะระ
1992 Butler Lampson PARC,
DEC
1993 Juris Hartmanis General Electric Research Laboratory (ปัจจุบันอยู่ภายใต้ Groupe Bull, an Atos company)
Richard E. Stearns
1994 Edward Feigenbaum มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
Raj Reddy มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน
1995 Manuel Blum มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
1996 Amir Pnueli มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
Tel Aviv University,
Weizmann Institute of Science
1997 Douglas Engelbart SRI International,
Tymshare,
McDonnell Douglas,
Bootstrap Institute/Alliance,[4]
The Doug Engelbart Institute
1998 Jim Gray ไอบีเอ็ม,
ไมโครซอฟท์
1999 Fred Brooks ไอบีเอ็ม,
มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา แชเปิลฮิลล์
2000 Andrew Yao มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์,
มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน
2001 Ole-Johan Dahl Norwegian Computing Center
Kristen Nygaard
2002 Ron Rivest สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
Adi Shamir
Leonard Adleman มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย
2003 Alan Kay มหาวิทยาลัยแห่งยูทาห์,
PARC,
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด,
Atari,
แอปเปิล ATG,
Walt Disney Imagineering,
Viewpoints Research Institute,
HP Labs
2004 Vint Cerf มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส,
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด, ดาร์ปา,
MCI (ปัจจุบันอยู่ภายใต้ Verizon),
CNRI, กูเกิล
Bob Kahn สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์,
Bolt Beranek and Newman,
ดาร์ปา,
CNRI
2005 Peter Naur Regnecentralen (ปัจจุบันอยู่ภายใต้ ฟูจิตสึ),
มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน
2006 Frances Allen ไอบีเอ็ม
2007 Edmund M. Clarke มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด,
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน
E. Allen Emerson มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
Joseph Sifakis French National Centre for Scientific Research
2008 Barbara Liskov สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
2009 Charles P. Thacker PARC,
DEC,
ไมโครซอฟท์ Research
2010 Leslie Valiant มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
2011 Judea Pearl[5] มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส
2012 Silvio Micali สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
Shafi Goldwasser สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์,
Weizmann Institute of Science
2013 เลสลี่ แลมพอร์ต Massachusetts Computer Associates (ปัจจุบันอยู่ภายใต้ Essig PLM),
SRI International,
DEC,
คอมแพค (ปัจจุบันอยู่ภายใต้ เอชพี),
ไมโครซอฟท์ Research
2014 Michael Stonebraker มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์,
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
2015 Whitfield Diffie มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
Martin Hellman
2016 ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป,
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์,
เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม
2017 John L. Hennessy มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
David Patterson มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์
2018 Yoshua Bengio Université de Montréal,
Mila
Geoffrey Hinton มหาวิทยาลัยโทรอนโต,
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย แซนดีเอโก,
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน,
มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน,
มหาวิทยาลัยเอดินบะระ,
Google AI
อียาน เลอเกิง ห้องทดลองเบล,
มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก,
เมตา เอไอ
2019 Edwin Catmull มหาวิทยาลัยแห่งยูทาห์,
พิกซาร์,
วอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอส์
Pat Hanrahan พิกซาร์,
มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน,
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
2020 Alfred Aho เบลล์ แลบส์,
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
Jeffrey Ullman เบลล์ แลบส์,
มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน,
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
2021 แจ็ก ดองการ์รา Argonne National Laboratory,
Oak Ridge National Laboratory,
มหาวิทยาลัยแห่งเแมนเชสเตอร์,
มหาวิทยาลัยเทกซัสเอแอนด์เอ็ม Institute for Advanced Study,
มหาวิทยาลัยแห่งเทนเนสซี
2022 Robert Metcalfe สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์,
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด,
XEROX PARC,
มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน

อ้างอิง[แก้]

  1. Cacm Staff (2014). "ACM's Turing Award prize raised to $1 million". Communications of the ACM. 57 (12): 20. doi:10.1145/2685372.
  2. "A. M. Turing Award". ACM. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 12, 2009. สืบค้นเมื่อ November 5, 2007.
  3. "ACM's Turing Award Prize Raised to $1 Million". ACM. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 23, 2015. สืบค้นเมื่อ November 13, 2014.
  4. "The Doug Engelbart Institute". The Doug Engelbart Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 14, 2012. สืบค้นเมื่อ June 17, 2012.
  5. Pearl, Judea (2011). The Mechanization of Causal Inference: A "mini" Turing Test and Beyond (mp4). ACM Turing Award Lectures. doi:10.1145/1283920. ISBN 978-1-4503-1049-9.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]