เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม
โลโก้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997
ชื่อย่อW3C
คําขวัญLeading the Web to Its Full Potential
ก่อตั้ง1 ตุลาคม 1994; 29 ปีก่อน (1994-10-01)
ประเภทองค์กรกำหนดมาตรฐาน
วัตถุประสงค์พัฒนามาตรการและแนวทางปฏิบัติที่รับประกันการเติบโตของเว็บในระยะยาว
สํานักงานใหญ่เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
ที่ตั้ง
พิกัด42°21′43″N 71°05′26″W / 42.36194°N 71.09056°W / 42.36194; -71.09056พิกัดภูมิศาสตร์: 42°21′43″N 71°05′26″W / 42.36194°N 71.09056°W / 42.36194; -71.09056
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ
ทั่วโลก
สมาชิก
สมาชิกองค์กร 460 องค์กร[2]
ผู้อำนวยการ
ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี
บุคลากรหลัก
1080306111126
พนักงาน
600
เว็บไซต์www.w3.org

เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม หรือ ดับเบิลยูทรีซี (อังกฤษ: World Wide Web Consortium: W3C) คือองค์กรระหว่างประเทศที่นำโดยทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ทำหน้าที่จัดระบบมาตรฐานที่ใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรือ WPC) โดยมีจุดมุ่งหมาย ที่จะเป็นแกนนำทางด้านพัฒนาโพรโทคอล และวิธีการใช้งานสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บทั้งหมด นอกจากนี้ทาง WPC มีการบริการทางการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเปิดให้ใช้ฟอรัมในการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องเว็บ ตามข้อมูลเมื่อ 5 มีนาคม ค.ศ. 2023 (2023 -03-05) W3C มีสมาชิกองค์กร 462 องค์กร[3][2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "WPC Invites Chinese Web Developers, Industry, Academia to Assume Greater Role in Global Web Innovation". WPC.org. 2013-01-20. สืบค้นเมื่อ 2013-11-30.[ลิงก์เสีย]
  2. 2.0 2.1 "Current Members – W3C". World Wide Web Consortium. สืบค้นเมื่อ 5 March 2023.
  3. W3C. "World Wide Web Consortium (W3C) About the Consortium". สืบค้นเมื่อ 21 March 2022.

www.connextions[แก้]