ภาษามาดูรา
ภาษามาดูรา | |
---|---|
Bhâsa Madhurâ بۤاسا مادورۤا ꧋ꦧꦱꦩꦢꦸꦫ꧉ | |
ประเทศที่มีการพูด | ประเทศอินโดนีเซีย |
ภูมิภาค | เกาะมาดูรา, หมู่เกาะซาปูตี, เกาะชวา, ประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย (ในฐานะ Boyanese) |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 6.7 ล้านคน (2554)[1] |
ตระกูลภาษา | ออสโตรนีเซียน
|
ภาษาถิ่น | |
ระบบการเขียน | อักษรละติน อักษรจารากัน อักษรเปโกน |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | จังหวัดชวาตะวันออก (ร่วมกับภาษาชวาและภาษาอินโดนีเซีย) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | mad |
ISO 639-3 | mad – มาดูรามาตรฐาน |
ภาษามาดูรา (มาดูรา: bhâsa Madhurâ, เปโกน: بۤاسا مادورۤا) เป็นภาษาที่ใช้พูดบนเกาะมาดูราและเกาะอื่น ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย เช่นเกาะกาเงอัน เกาะซาปูดี และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคโปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูด 13,600,000 คนในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัพท์เหมือนกับภาษากาเงอันร้อยละ 75 และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนียง สำเนียงซูเมอเนิปจัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลันที่พูดในซูราบายาเป็นสำเนียงที่ใช้ทางการค้ามากที่สุด เป็นสำเนียงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธิพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซียด้วย
สัทวิทยา
[แก้]อักษรโรมันที่ปรากฏในตารางเป็นไปตามอักขรวิธี พ.ศ. 2551[2]
สระ
[แก้]หน้า | กลาง | หลัง | ||
---|---|---|---|---|
ปากไม่ห่อ | ปากห่อ | |||
ปิด | /i/ ꦆ ⟨i⟩ |
/ɨ/ ꦆ ⟨e⟩ |
/u/ ꦈ ⟨u⟩ | |
กลาง | /ɛ/ ꦌ ⟨è⟩ |
/ə/ ꦄꦼ ⟨e⟩ |
/ɤ/ ꦄꦼꦴ ⟨â⟩ |
/ɔ/ ꦎ ⟨o⟩ |
เปิด | /a/ ꦄ ⟨a⟩ |
พยัญชนะ
[แก้]ริมฝีปาก | ฟัน/ ปุ่มเหงือก |
ลิ้นม้วน | เพดานแข็ง | เพดานอ่อน | เส้นเสียง | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | /m/ ꦩ ⟨m⟩ ⟨م⟩ |
/n̪/ ꦤ ⟨n⟩ ⟨ن⟩ |
/ɳ/ ꦟ ⟨ṇ⟩ ⟨ن⟩ |
/ɲ/ ꦚ ⟨ny⟩ ⟨ۑ⟩ |
/ŋ/ ꦔ ⟨ng⟩ ⟨ڠ⟩ |
||
เสียงหยุด | ไม่ก้อง | /p/ ꦥ ⟨p⟩ ⟨ڤ⟩ |
/t̪/ ꦠ ⟨t⟩ ⟨ت⟩ |
/ʈ/ ꦛ ⟨ṭ⟩ ⟨ڟ⟩ |
/c/ ꦕ ⟨c⟩ ⟨چ⟩ |
/k/ ꦏ ⟨k⟩ ⟨ك⟩ |
/ʔ/ ꦃ ⟨'⟩ ⟨ء⟩ |
ก้อง | /b/ ꦧ ⟨b⟩ ⟨ب⟩ |
/d̪/ ꦢ ⟨d⟩ ⟨د⟩ |
/ɖ/ ꦣ ⟨ḍ⟩ ⟨ڊ⟩ |
/ɟ/ ꦗ ⟨j⟩ ⟨ج⟩ |
/g/ ꦒ ⟨g⟩ ⟨ࢴ⟩ |
||
พ่นลม | /pʰ/ ꦧ ⟨bh⟩ ⟨ب⟩ |
/t̪ʰ/ ꦢ ⟨dh⟩ ⟨د⟩ |
/ʈʰ/ ꦣ ⟨ḍh⟩ ⟨ڊ⟩ |
/cʰ/ ꦗ ⟨jh⟩ ⟨ج⟩ |
/kʰ/ ꦒ ⟨gh⟩ ⟨ࢴ⟩ |
||
เสียงเสียดแทรก | /s/ ꦱ ⟨s⟩ ⟨س⟩ |
/h/ ꦲ ⟨h⟩ ⟨ه⟩ | |||||
เสียงรัว | /r/ ꦫ ⟨r⟩ ⟨ر⟩ |
||||||
เสียงเปิด | กลาง | /j/ ꦪ ⟨y⟩ ⟨ي⟩ |
/w/ ꦮ ⟨w⟩ ⟨و⟩ |
||||
ข้างลิ้น | /l/ ꦭ ⟨l⟩ ⟨ل⟩ |
คำทั่วไป
[แก้]มาดูรา | อินโดนีเซีย | ไทย | |
---|---|---|---|
ละติน | Pèghu | ||
lakè’ | لاكَيء | laki-laki | ชาย |
binè’ | بِينَيء | perempuan | หญิง |
iyâ | إيۤا | iya | ใช่ |
enja′ | أٓنجاْء | tidak | ไม่ |
aèng [aɛŋ] | أئَيڠ | air | น้ำ |
arè | أرَي | matahari | ดวงอาทิตย์ |
mata | ماتا | mata | ตา |
sengko' | سَيڠكَوء | aku/saya | ฉัน |
bâ'na | بۤاءنا | kamu/engkau | คุณ |
ตัวเลข
[แก้]มาดูรา | อินโดนีเซีย | ไทย | |
---|---|---|---|
ละติน | Pèghu | ||
sèttong | سَيتَّوڠ | satu | หนึ่ง |
duwâ' | دووۤاء | dua | สอง |
tello' | تٓلَّوء | tiga | สาม |
empa' | اۤمڤاء | empat | สี่ |
lèma’ | لَيماء | lima | ห้า |
ennem | اۤنّٓم | enam | หก |
pètto’ | ڤَيتَّوء | tujuh | เจ็ด |
bâllu’ | بۤالّوء | delapan | แปด |
sanga′ | ساڠاء | sembilan | เก้า |
sapolo | ساڤَولَو | sepuluh | สิบ |
ตัวอย่างประโยค
[แก้]จากข้อที่ 1 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
มาดูรา: Sâdhâjâna orèng lahèr mardhika èsarengè dhrâjhât klabân ha'-ha' sè padâ. Sâdhâjâna èparèngè akal sareng nurani bân kodhu areng-sareng akanca kadhi tarètan.
- Aksara Pèghu
- [งานค้นคว้าต้นฉบับ?] ساڊۤاجۤانا عَورَيڠ لاهَير مارڊيكا عَيسارۤڠَي ڊرۤاجۤات کلابۤان هاء۲ سَي پادۤا. ساڊۤاجۤانا عَيڤارَيڠَي أکال سارۤڠ نوراني كَوڊو أرۤڠ-سارۤڠ أكانچا كاڊي تارَيتان.
ไทย: "มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ"
อ้างอิง
[แก้]- ↑ มาดูรามาตรฐาน ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
- ↑ ดู Davies (2010), p. 59
บรรณานุกรม
[แก้]- Davies, W. D. (2010). A Grammar of Madurese. Berlin: De Gruyter Mouton.
- Kiliaan, H. N. (1897). Madoereesche Spraakkunst (ภาษาดัตช์). Batavia: Landsdrukkerij.
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.