ฟุตบอลทีมชาติมาลี
หน้าตา
ฉายา | The Eagles | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลมาลี | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหภาพฟุตบอลแอฟริกาตะวันตก | ||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (Africa) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Mohamed Magassouba | ||
กัปตัน | Hamari Traoré | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | แซดู แกตา (102) | ||
ทำประตูสูงสุด | แซดู แกตา (25) | ||
สนามเหย้า | Stade du 26 Mars | ||
รหัสฟีฟ่า | MLI | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 50 6 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 23 (มิถุนายน 2013) | ||
อันดับต่ำสุด | 117 (ตุลาคม 2001) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
สหพันธรัฐมาลี 4–3 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง (มาดากัสการ์; 13 เมษายน 1960) | |||
ชนะสูงสุด | |||
มาลี 11–0 มอริเตเนีย (ไม่ทราบวันแน่ชัด 1972) | |||
แพ้สูงสุด | |||
แอลจีเรีย 7–0 มาลี (แอลจีเรีย; 13 พฤศจิกายน 1988) คูเวต 8–1 มาลี (คูเวตซิตี, คูเวต; 5 กันยายน 1997) | |||
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ | |||
เข้าร่วม | 12 (ครั้งแรกใน 1972) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (1972) | ||
African Nations Championship | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 2011) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (2016, 2020) |
ฟุตบอลทีมชาติมาลี เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐมาลีในการแข่งขันระดับชาติ อยู่ภายใต้การบริหารงานของสหพันธ์ฟุตบอลมาลี และเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) และฟีฟ่า
ถึงแม้ว่าทีมชาติมาลียังไม่เคยผ่านเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย แต่เคยผ่านเข้าไปแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก 1 ครั้ง ในโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ โดยผ่านเข้าถึงรอบ 8 ทีมสุดท้าย ส่วนผลงานระดับทวีปเคยแข่งขันในรายการแอฟริกันเนชันส์คัพ 12 สมัย และสามารถคว้าตำแหน่งรองชนะเลิศได้ในปี 1972 ที่ประเทศแคเมอรูน
อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.