ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ![]() |
เมือง | กรุงเทพมหานคร |
วันที่ | 14 – 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 |
ทีม | ![]() ![]() ![]() ![]() |
สถานที่ | ราชมังคลากีฬาสถาน (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ![]() |
รองชนะเลิศ | ![]() |
อันดับที่ 3 | ![]() |
อันดับที่ 4 | ![]() |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 4 |
จำนวนประตู | 9 (2.25 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ![]() |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ![]() |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ![]() |
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 45 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม จะแข่งขันกันที่กรุงเทพมหานคร
ครั้งนี้ประกอบไปด้วยเจ้าภาพ ไทย และสามทีมรับเชิญ. สามทีมที่ได้รับเชิญนั้นคือ บูร์กินาฟาโซ, เกาหลีเหนือ และ เบลารุส.[1]
ทีมที่เข้าร่วม[แก้]
4 ทีมที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันสำหรับทัวร์นาเมนต์นี้
สนามแข่งขัน[แก้]
แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นที่ ราชมังคลากีฬาสถาน ใน กรุงเทพมหานคร, ไทย
กรุงเทพมหานคร |
---|
![]() |
ราชมังคลากีฬาสถาน |
ความจุ: 49,772 |
ผู้เล่น[แก้]
ดูบทความหลักที่: ผู้เล่นในฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45
แมตช์[แก้]
เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, เวลาอินโดจีน (UTC+7)
กฏกติกาการแข่งขัน[แก้]
- 90 นาที.
- การดวลลูกโทษ ถ้าในกรณีที่จำเป็น.
- เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุด 3 คน.
สายการแข่งขัน[แก้]
รอบรองชนะเลิศ | นัดชิงชนะเลิศ | ||||||
14 กรกฎาคม - กรุงเทพมหานคร | |||||||
![]() |
0 (0) | ||||||
![]() |
0 (3) | ||||||
16 กรกฎาคม - กรุงเทพมหานคร | |||||||
![]() |
0 (4) | ||||||
![]() |
0 (5) | ||||||
นัดชิงอันดับที่ 3 | |||||||
14 กรกฎาคม - กรุงเทพมหานคร | 16 กรกฎาคม - กรุงเทพมหานคร | ||||||
![]() |
3 | ![]() |
3 (4) | ||||
![]() |
0 | ![]() |
3 (3) |
รอบรองชนะเลิศ[แก้]
บูร์กินาฟาโซ ![]() | 0–0 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
Tapsoba ![]() Barro ![]() Ouédrago ![]() |
0–3 | ![]() ![]() ![]() |
ผู้ตัดสิน: Zaw Khaing (เมียนมาร์)
ไทย ![]() | 3–0 | ![]() |
---|---|---|
มงคล ![]() ฐิติพันธ์ ![]() ธีรเทพ ![]() |
รายงาน |
ผู้ตัดสิน: Yusuke Araki (ญี่ปุ่น)
นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]
บูร์กินาฟาโซ ![]() | 3–3 | ![]() |
---|---|---|
Zagrè ![]() Traoré ![]() |
รายงาน | Pak Song-chol ![]() Myong Cha-hyon ![]() Rim Kwang-hyok ![]() |
ลูกโทษ | ||
Traoré ![]() Ouattara ![]() Béao ![]() Tapsoba ![]() Sawadogo ![]() |
4–3 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ผู้ตัดสิน: Zaw Khaing (เมียนมาร์)
นัดชิงชนะเลิศ[แก้]
เบลารุส ![]() | 0–0 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
Savitski ![]() Klopotskiy ![]() Salavey ![]() Shevchenko ![]() Volkov ![]() Skitaw ![]() |
4–5 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ชนะเลิศ[แก้]
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45 ชนะเลิศ |
---|
![]() ไทย ชนะเลิศครั้งที่สิบห้า |
อันดับดาวซัลโว[แก้]
หมายเหตุ : ไม่รวมประตูลูกจุดโทษในช่วงเสมอ
- 2 ประตู
- 1 ประตู
การถ่ายทอดสด[แก้]
ประเทศ | สถานีโทรทัศน์ | อ้างอิง |
---|---|---|
![]() |
ไทยรัฐทีวี |
การจำหน่ายตั๋ว[แก้]
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45 จะมีการจำหน่ายตั๋วเข้าชมเกมการแข่งขันที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์ ทุกสาขา ทุกช่องทางการจำหน่ายตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป[2]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "นายกสมาคมฯ เปิดเผยถึงการแข่งขันฟุตบอลคิงส์คัพ ครั้งที่ 45". FA Thailand. 24 มิถุนายน 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-26. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2560.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "การจำหน่ายบัตรเข้าชม คิงส์ คัพ 2017". FA Thailand. 27 มิถุนายน 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-29. สืบค้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2560.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย – เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
- สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เก็บถาวร 2013-06-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – เว็บไซต์ฟีฟ่า
- สหพันธ์ฟุตบอลเบลารุส เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – เว็บไซต์ฟีฟ่า
- Fédération Burkinabé de Foot-Ball เก็บถาวร 2015-05-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – เว็บไซต์ฟีฟ่า
- สมาคมฟุตบอลเกาหลีเหนือ เก็บถาวร 2018-06-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – เว็บไซต์ฟีฟ่า