ฟุตซอลไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตซอลไทยลีก 2
ฤดูกาล2565–2566
วันที่25 พฤศจิกายน – 26 ธันวาคม 2565
ทีมชนะเลิศพัทยา ฟุตซอลคลับ
เลื่อนชั้นพัทยา ฟุตซอลคลับ
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตกชั้นโกลด์ซิตี้ สมุทรสาคร
ดีพียู ทาวน์
ผู้ทำประตูสูงสุดประภาส อยู่สำราญ
(10 ประตู)
2564
2566

ฟุตซอลไทยลีก 2 ฤดูกาล 2565 เป็นการแข่งขันฟุตซอลอาชีพระดับสองของประเทศไทยภายใต้การจัดการของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย และการกีฬาแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 9 ในปี พ.ศ. 2565 ซึ่งในฤดูกาลนี้มี 8 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน จะแข่งขันในระบบเวียนเจ้าภาพ โดยเริ่มต้นฤดูกาลการแข่งขันในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 และจะสิ้นสุดฤดูกาลการแข่งขันในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2565 โดยจะแข่งเป็นประจำในทุกวันจันทร์ และศุกร์

สโมสร[แก้]

เข้าสู่ไทยลีก 2[แก้]

ตกชั้นจากไทยลีก[แก้]

เลื่อนชั้นจากฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย[แก้]

ออกจากไทยลีก 2[แก้]

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก[แก้]

ตกชั้นสู่ฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย[แก้]

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 พัทยา ฟุตซอลคลับ (C, P) 7 6 0 1 23 13 +10 18 เข้าแข่งขันในรอบไฟนอลโฟร์
2 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (P) 7 6 0 1 33 6 +27 18
3 วายเอฟเอ วอริกซ์ ศรีราชา 7 5 1 1 31 15 +16 16
4 ไอมาเน่ ฟุตซอล เซ็นเตอร์ 7 3 1 3 24 18 +6 10
5 ราชพฤกษ์ ฟุตซอลคลับ 7 3 1 3 22 22 0 10
6 เอสแบค-นอร์ทกรุงเทพ 7 2 1 4 11 25 −14 7
7 โกลด์ซิตี้ สมุทรสาคร (R) 7 1 0 6 13 26 −13 3 ตกชั้นสู่ ฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ฤดูกาล 2566
8 ดีพียู ทาวน์ (R) 7 0 0 7 8 40 −32 0
แหล่งที่มา : Futsal Thailand - ฟุตซอลไทยแลนด์
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. ครองอันดับร่วม
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด 3. จำนวนครั้งที่ชนะ 4. ผลต่างประตูได้-เสีย 5. ประตูได้ 6. จับสลากเพื่อจัดอันดับ 7. ให้พิจารณาเรียงลำดับ เมื่อตัดสินหาอันดับได้แล้วให้ยุติพิจารณาข้อต่อไป[1]
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น; (R) ตกชั้น.

รอบไฟนอลโฟร์[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
23 ธันวาคม – โกดังสเตเดียม
 พัทยา ฟุตซอลคลับ  2  
 ไอมาเน่ ฟุตซอล เซ็นเตอร์  2  
 
26 ธันวาคม – โกดังสเตเดียม
     พัทยา ฟุตซอลคลับ  2
   มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  2
นัดชิงอันดับที่ 3
23 ธันวาคม – โกดังสเตเดียม 26 ธันวาคม – โกดังสเตเดียม
 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  7  ไอมาเน่ ฟุตซอล เซ็นเตอร์  6
 วายเอฟเอ วอริกซ์ ศรีราชา  1    วายเอฟเอ วอริกซ์ ศรีราชา  6

รางวัล[แก้]

รางวัลประจำฤดูกาล[แก้]

รางวัล ผู้ชนะ สโมสร
ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล เสริมพันธ์ คุ้มถิ่นแก้ว พัทยา ฟุตซอลคลับ
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล จูลิโอ เซซาร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้ทำประตูสูงสุดประจำฤดูกาล ประภาส อยู่สำราญ วายเอฟเอ วอริกซ์ ศรีราชา
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล วทัญญู ศิริรัตนพันธุ์ พัทยา ฟุตซอลคลับ

อ้างอิง[แก้]

  1. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตซอลลีกอาชีพ รายการ "ฟุตซอลไทยลีก" พ.ศ. 2565" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]