ฟอสฟีน
ฟอสฟีน | |
---|---|
![]() | |
ชื่อตาม IUPAC | Phosphane |
ชื่ออื่น | Phosphamine Phosphorus trihydride Phosphorated hydrogen |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [7803-51-2][CAS] |
PubChem | |
EC number | |
UN number | 2199 |
ChEBI | |
RTECS number | SY7525000 |
SMILES | |
InChI | |
Gmelin Reference | 287 |
ChemSpider ID | |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | PH3 |
มวลต่อหนึ่งโมล | 33.99758 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | แก๊สไร้สี |
กลิ่น | กลิ่นเหมือนปลาหรือกระเทียม[1] |
ความหนาแน่น | 1.379 g/l, gas (25 °C) |
จุดหลอมเหลว |
-132.8 °C, 140 K, -207 °F |
จุดเดือด |
-87.7 °C, 185 K, -126 °F |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | 31.2 mg/100 ml (17 °C) |
ความสามารถละลายได้ | ละลายน้ำได้ในแอลกอฮอล์, อีเทอร์, CS2 ค่อนข้างละลายน้ำในเบนซีน, คลอโรฟอร์ม, เอทานอล |
ความดันไอ | 41.3 atm (20 °C)[1] |
ดัชนีหักเหแสง (nD) | 2.144 |
ความหนืด | 1.1×10−5 Pa⋅s |
โครงสร้าง | |
รูปร่างโมเลกุล | พีระมิดฐานสามเหลี่ยม |
Dipole moment | 0.58 D |
อุณหเคมี | |
Std enthalpy of formation ΔfH |
5 kJ/mol[2] |
Standard molar entropy S |
210 J/mol⋅K[2] |
ความจุความร้อนจำเพาะ | 37 J/mol⋅K |
ความอันตราย | |
GHS pictograms | ![]() ![]() ![]() ![]() |
NFPA 704 | |
จุดวาบไฟ | แก๊สติดไฟ |
Explosive limits | 1.79–98%[1] |
U.S. Permissible exposure limit (PEL) |
TWA 0.3 ppm (0.4 mg/m3)[1] |
LD50 | 3.03 mg/kg (หนู, ปาก) |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง | |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
ฟอสฟีน (ชื่อไอยูแพ็ก: ฟอสเฟน) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีว่า PH3 จัดอยู่ในกลุ่มนิกโตเจนไฮไดรด์ เป็นแก๊สที่มีคุณสมบัติไร้สี ติดไฟได้ และเป็นพิษอย่างยิ่ง ฟอสฟีนบริสุทธิ์ไม่มีกลิ่น แต่ตัวอย่างเกรดเทคนิคจะมีกลิ่นไม่พึงประสงค์อย่างแรงเหมือนกระเทียมหรือปลาเน่า เนื่องจากมีฟอสฟีนและไดฟอสฟีนแทน (P2H4) PH3 จะติดไฟได้เองในอากาศเมื่อมี P2H4
ฟอสฟีนเป็นชื่อของกลุ่มสารประกอบออร์แกโนฟอสฟอรัสที่มีฟอสเฟนโดยที่อะตอมไฮโดรเจนถูกแทนที่ด้วยอนุพันธ์อินทรีย์ มีสูตรทั่วไป PR3 ออร์แกโดนฟอสฟีนมีความสำคัญเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาโดยที่เป็นคอมเพล็กซ์กับไอออนโลหะหลายตัว
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0505". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ 2.0 2.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles (6th ed.). Houghton Mifflin. p. A22. ISBN 978-0-618-94690-7.
อ่านเพิ่ม[แก้]
- Fluck, E. (1973). "The Chemistry of Phosphine". Topics in Current Chemistry. Fortschritte der Chemischen Forschung. 35: 1–64. doi:10.1007/BFb0051358. ISBN 3-540-06080-4.
- World Health Organisation (1988). Phosphine and Selected Metal Phosphides. Environmental Health Criteria. 73. Geneva: Joint sponsorship of UNEP, ILO and WHO.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ฟอสฟีน |