โพแทสเซียมคาร์บอเนต
โพแทสเซียมคาร์บอเนต | |
---|---|
![]() | |
![]() | |
![]() | |
ชื่อตาม IUPAC | Potassium carbonate |
ชื่ออื่น | Potash, pearl ash |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [584-08-7][CAS] |
PubChem | |
RTECS number | TS7750000 |
SMILES | |
InChI | |
ChemSpider ID | |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | K2CO3 |
มวลต่อหนึ่งโมล | 138.205 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ขาว hygroscopic solid |
ความหนาแน่น | 2.43 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว |
891 °C, 1164 K, 1636 °F |
จุดเดือด |
สลายตัว |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | 112 g/100 mL (20 °C) 156 g/100 mL (100 °C) |
ความสามารถละลายได้ | ไม่ละลายในเอทานอลและอะซีโตน |
ความอันตราย | |
MSDS | ICSC 1588 |
EU Index | Not listed |
อันตรายหลัก | ระคายเคือง |
NFPA 704 | |
R-phrases | R22 R36 R37 R38 |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
LD50 | 1870 mg/kg (oral, rat)[1] |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง | |
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
โพแทสเซียมคาร์บอเนต (Potassium carbonate;K2CO3) เป็นเกลือสีขาวละลายในน้ำได้แต่ไม่ละลายในเอทานอล[2] ละลายในน้ำได้สารละลายเป็นเบสแก่ สารนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ที่ทำปฏิกิริยากับ คาร์บอนไดออกไซด์ สารนี้ใช้ในการผลิตสบู่และแก้ว
ในตำรายาเรียกเกลือเยาวกะษา หรือยาวักกะสาน ซึ่งยืมคำมาจากภาษาสันสกฤต ในสมัยก่อนจะได้จากการเผาพืชให้เป็นเถ้า นำไปละลายน้ำ แล้วระเหยให้น้ำแห้ง ตำราอายุรเวทของอินเดียใช้ขับปัสสาวะและลดกรดในกระเพาะอาหาร[3]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ http://chem.sis.nlm.nih.gov/chemidplus/rn/584-08-7
- ↑ http://www.researchgate.net/publication/231535294_Solubility_of_Potassium_Carbonate_and_Potassium_Hydrocarbonate_in_Methanol
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556. หน้า 22