ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาพิมพิสารราชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สีพิเศษ = #ffcc00
| image = [[ไฟล์:เจ้าหลวงพิมพิสาร.jpg|200px]]
| image = [[ไฟล์:เจ้าหลวงพิมพิสาร.jpg|200px]]
| reign = พ.ศ. 2390 พ.ศ. 2429<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
|ภาพกว้าง =
| predecessor = [[พระยาอินทวิไชย]]
|คำบรรยายภาพ =
|พระนาม = เจ้าพิมพิสาร
| successor = [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]]
| birth_style = เกิด
|พระนามเต็ม = องค์สมเด็จมหาราชหลวง (พระญาพิมพิสารราชา)
| birth_date = พ.ศ. 2356
|ครองราชย์ = [[พ.ศ. 2390]] [[พ.ศ. 2429]]<ref name="เจ้านาย">{{หนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
| death_style = อนิจกรรม
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาอินทวิไชย]]
| death_date = พ.ศ. 2429
|รัชกาลถัดมา = [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]]
| succession = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|พระยานครแพร่]]
|ฐานันดร = เจ้าหลวง
| father1 = พระยาวังขวา
|วันประสูติ = [[พ.ศ. 2356]]
| mother1 = [[เจ้าปิ่นแก้ว|แม่เจ้าปิ่นแก้ว]]
|วันพิราลัย = [[พ.ศ. 2429]]
| spouse-type = ภริยา
|พระอิสริยยศ = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|พระยานครแพร่]]
| spouse = [[แม่เจ้าแก้วไหลมา]]<br >แม่เจ้าธิดาเทวี<br >แม่เจ้าคำใย้เทวี <br > หม่อมจันทร์
|พระราชบิดา =
| issue1 = 5 พระองค์
|พระบิดา = พระยาวังขวา
| dynasty = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
|พระราชมารดา =
|พระมารดา = [[เจ้าปิ่นแก้ว|แม่เจ้าปิ่นแก้ว]]
|มารดา =
|พระชายา = [[แม่เจ้าแก้วไหลมาราชเทวี]]
|ชายา = แม่เจ้าธิดาเทวี<br>แม่เจ้าคำใย้เทวี
|หม่อม =หม่อมจันทร์
|พระราชสวามี =
|พระสวามี =
|พระโอรส/ธิดา = 5 พระองค์
|บุตร/ธิดา =
|ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
}}
}}
{{เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่งราชวงศ์เทพวงศ์}}
{{เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่งราชวงศ์เทพวงศ์}}
'''พระยาพิมพิสารราชา''' หรือ '''เจ้าหลวงพิมพิสาร''' ทรงเป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 24 (องค์ที่ 3 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจาก[[พระยาอินทวิไชย]]ผู้เป็นราชมาตุลาของพระองค์
'''พระยาพิมพิสารราชา''' หรือ '''เจ้าหลวงพิมพิสาร''' เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 24 (องค์ที่ 3 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ครองนครแพร่ต่อจาก[[พระยาอินทวิไชย]]ผู้เป็นราชมาตุลา


==พระประวัติ==
==พระประวัติ==
พระยาพิมสารราชา หรือ '''เจ้าหลวงพิมพิสาร'''<ref name="เจ้านาย"/> ([[พ.ศ. 2356]] – [[พ.ศ. 2429]]) มีพระนามเดิมว่าเจ้าพิมพิสาร เป็นโอรสของพระยาวังขวา (เฒ่า) กับ[[เจ้าปิ่นแก้ว|แม่เจ้าปิ่นแก้ว]] ราชธิดา[[พระยาเทพวงศ์]] [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 1 กับ[[แม่เจ้าสุชาดา|แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]] ''(แต่พระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ระบุว่าเป็นน้องสาวพระยาแสนซ้ายเจ้าเมืองแพร่)''
พระยาพิมสารราชา หรือ '''เจ้าหลวงพิมพิสาร'''<ref name="เจ้านาย"/> มีนามเดิมว่าเจ้าพิมพิสาร เป็นโอรสของพระยาวังขวา (เฒ่า) กับ[[เจ้าปิ่นแก้ว|แม่เจ้าปิ่นแก้ว]] ราชธิดา[[พระยาเทพวงศ์]] [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 1 กับ[[แม่เจ้าสุชาดา]] ''(แต่พระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ระบุว่าเป็นน้องสาวพระยาแสนซ้ายเจ้าเมืองแพร่)''


เจ้าพิมพิสารได้รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็น''พระยาราชวงศ์'' เมื่อพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลาถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2390 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น''พระยาแพร่'' ขณะมีชันษาได้ 34 ปี เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ขึ้นครองราชย์ พระยาพิมพิสารไม่ลงไปเข้าเฝ้า จึงไม่ได้รับพระราชทานนามใหม่ขึ้นเป็นเจ้าอย่างเจ้านครเชียงใหม่ เจ้านครลำพูน เจ้านครลำปาง และเจ้านครเมืองน่าน<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๔| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2555| ISBN = 978-616-7146-30-0| จำนวนหน้า = 2,136| หน้า = 1559}}</ref>
เจ้าพิมพิสารได้รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็น''พระยาราชวงศ์'' เมื่อพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลาถึงแก่อนิจกรรมในปี พ.ศ. 2390 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น''พระยาแพร่'' ขณะมีชันษาได้ 34 ปี เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ขึ้นครองราชย์ พระยาพิมพิสารไม่ลงไปเข้าเฝ้า จึงไม่ได้รับพระราชทานนามใหม่ขึ้นเป็นเจ้าอย่างเจ้านครเชียงใหม่ เจ้านครลำพูน เจ้านครลำปาง และเจ้านครเมืองน่าน<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๔| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2555| ISBN = 978-616-7146-30-0| จำนวนหน้า = 2,136| หน้า = 1559}}</ref>


พระยาพิมพิสาร ทรงเป็นเจ้าหลวงที่ปลูกฝังนิสัยเรื่องการประหยัด และการรู้จักประมาณตนแก่ชาวเมืองแพร่เป็นอย่างดี ดังมีเรื่องเล่ากันว่า หม้อน้ำที่ท่านตั้งไว้ข้างถนนสำหรับผู้สัญจรนั้น จะมีกระบวยใหญ่และกระบวยเล็กอย่างละ 1 อัน หากใครใช้กระบวยใหญ่ตักดื่มน้ำแล้ว เทน้ำที่เหลือทิ้ง หรือใช้กระบวยเล็กตักดื่มซ้ำเมื่อไม่อิ่ม ต่างก็โดนก๋งยิง (เป็นอาวุธที่ใช้ลูกหินขนาดเล็กเป็นกระสุนสามารถทำให้เจ็บตัวหรือเป็นแผลได้) ด้วยเหตุผลที่ว่าไม่รู้จักประมาณตนเอง หรือไม่ประหยัด นอกจากนี้เจ้าหลวงพิมพิสารยังมีกิจการค้าไม้สัก ทำรายได้เข้าเมืองแพร่นับหลายล้านบาทต่อปี ทำให้เศรษฐกิจในเมืองแพร่มีความต่อเนื่องและเป็นไปได้ดี<ref name="เจ้าหลวง"/>และพระองค์ยังทรงบูรณะวัดหลวง เมืองแพร่ในปีพ.ศ. 2416
พระยาพิมพิสาร ทรงเป็นเจ้าหลวงที่ปลูกฝังนิสัยเรื่องการประหยัด และการรู้จักประมาณตนแก่ชาวเมืองแพร่เป็นอย่างดี ดังมีเรื่องเล่ากันว่า หม้อน้ำที่ท่านตั้งไว้ข้างถนนสำหรับผู้สัญจรนั้น จะมีกระบวยใหญ่และกระบวยเล็กอย่างละ 1 อัน หากใครใช้กระบวยใหญ่ตักดื่มน้ำแล้ว เทน้ำที่เหลือทิ้ง หรือใช้กระบวยเล็กตักดื่มซ้ำเมื่อไม่อิ่ม ต่างก็โดนก๋งยิง (เป็นอาวุธที่ใช้ลูกหินขนาดเล็กเป็นกระสุนสามารถทำให้เจ็บตัวหรือเป็นแผลได้) ด้วยเหตุผลที่ว่าไม่รู้จักประมาณตนเอง หรือไม่ประหยัด นอกจากนี้เจ้าหลวงพิมพิสารยังมีกิจการค้าไม้สัก ทำรายได้เข้าเมืองแพร่นับหลายล้านบาทต่อปี ทำให้เศรษฐกิจในเมืองแพร่มีความต่อเนื่องและเป็นไปได้ดี<ref name="เจ้าหลวง"/>และพระองค์ยังทรงบูรณะวัดหลวง เมืองแพร่ในปีพ.ศ. 2416


พระยาพิมพิสาร ถึงแก่พิราลัยเวลาบ่าย 5 โมง แรม 7 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ พ.ศ. 2429 สิริชันษา 73 ปี
พระยาพิมพิสาร ถึงแก่อนิจกรรมเวลาบ่าย 5 โมง แรม 7 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ พ.ศ. 2429 สิริชันษา 73 ปี


== ราชโอรส-ธิดา==
== ราชโอรส-ธิดา==
พระยาพิมพิสาร มีพระชายา และราชโอรส-ธิดา ดังนี้<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงพิมพิสาร (พิมสาร หรือขาเค)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=701:2011-09-18-15-48-49&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date=18 สิงหาคม 2011|accessdate= 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
พระยาพิมพิสาร มีพระชายา และราชโอรส-ธิดา ดังนี้<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงพิมพิสาร (พิมสาร หรือขาเค)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=701:2011-09-18-15-48-49&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date=18 สิงหาคม 2011|accessdate= 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
* '''[[แม่เจ้าแก้วไหลมาราชเทวี]]''' (พบหลักฐานในแผ่นศิลา-จารึกที่วัดหลวง) แต่ไม่ปรากฏมีว่าราชบุตร ด้วยกันหรือไม่
* '''[[แม่เจ้าแก้วไหลมา]]''' (พบหลักฐานในแผ่นศิลา-จารึกที่วัดหลวง) แต่ไม่ปรากฏมีว่าราชบุตร ด้วยกันหรือไม่
*'''แม่เจ้าธิดาเทวี''' มีราชโอรส-ธิดา 4 พระองค์ คือ
*'''แม่เจ้าธิดาเทวี''' มีราชโอรส-ธิดา 4 พระองค์ คือ


บรรทัด 84: บรรทัด 73:
|boxstyle_4=background-color: #bfc;
|boxstyle_4=background-color: #bfc;
|boxstyle_5=background-color: #9fe;
|boxstyle_5=background-color: #9fe;
|1= '''เจ้าหลวงพิมพิสาร'''
|1= '''พระยาพิมพิสาร'''
|2= เจ้าวังขวา
|2= เจ้าวังขวา
|3= แม่เจ้าปิ่นแก้ว
|3= แม่เจ้าปิ่นแก้ว
|4=
|4=
|5=
|5=
|6= [[เจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง]]
|6= [[พระยาเทพวงศ์]]
|7= [[แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]]
|7= [[แม่เจ้าสุชาดา]]
|8=
|8=
|9=
|9=
บรรทัด 120: บรรทัด 109:
{{สืบตำแหน่ง
{{สืบตำแหน่ง
| รูปภาพ =
| รูปภาพ =
| ก่อนหน้า = [[พระยาอินทวิไชย]] <br><small>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]</small>
| ก่อนหน้า = [[พระยาอินทวิไชย]]
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
| ปี = [[พ.ศ. 2390]] - [[พ.ศ. 2429]]
| ปี = พ.ศ. 2390 พ.ศ. 2429
| ถัดไป = [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]]<br><small>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]</small>
| ถัดไป = [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]]
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:41, 7 มิถุนายน 2563

พระยาพิมพิสารราชา
พระยานครแพร่
ครองราชย์พ.ศ. 2390 — พ.ศ. 2429[1]
ก่อนหน้าพระยาอินทวิไชย
ถัดไปเจ้าพิริยเทพวงษ์
เกิดพ.ศ. 2356
อนิจกรรมพ.ศ. 2429
ภริยาแม่เจ้าแก้วไหลมา
แม่เจ้าธิดาเทวี
แม่เจ้าคำใย้เทวี
หม่อมจันทร์
พระบุตร5 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์เทพวงศ์
พระบิดาพระยาวังขวา
พระมารดาแม่เจ้าปิ่นแก้ว
เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่ง
ราชวงศ์แสนซ้าย
*พระยาแสนซ้าย
*พระยาเทพวงศ์
*พระยาอินทวิไชย
พระยาพิมพิสารราชา
เจ้าพิริยเทพวงษ์

พระยาพิมพิสารราชา หรือ เจ้าหลวงพิมพิสาร เป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 24 (องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครองนครแพร่ต่อจากพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลา

พระประวัติ

พระยาพิมสารราชา หรือ เจ้าหลวงพิมพิสาร[1] มีนามเดิมว่าเจ้าพิมพิสาร เป็นโอรสของพระยาวังขวา (เฒ่า) กับแม่เจ้าปิ่นแก้ว ราชธิดาพระยาเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 1 กับแม่เจ้าสุชาดา (แต่พระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ระบุว่าเป็นน้องสาวพระยาแสนซ้ายเจ้าเมืองแพร่)

เจ้าพิมพิสารได้รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาราชวงศ์ เมื่อพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลาถึงแก่อนิจกรรมในปี พ.ศ. 2390 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็นพระยาแพร่ ขณะมีชันษาได้ 34 ปี เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ พระยาพิมพิสารไม่ลงไปเข้าเฝ้า จึงไม่ได้รับพระราชทานนามใหม่ขึ้นเป็นเจ้าอย่างเจ้านครเชียงใหม่ เจ้านครลำพูน เจ้านครลำปาง และเจ้านครเมืองน่าน[2]

พระยาพิมพิสาร ทรงเป็นเจ้าหลวงที่ปลูกฝังนิสัยเรื่องการประหยัด และการรู้จักประมาณตนแก่ชาวเมืองแพร่เป็นอย่างดี ดังมีเรื่องเล่ากันว่า หม้อน้ำที่ท่านตั้งไว้ข้างถนนสำหรับผู้สัญจรนั้น จะมีกระบวยใหญ่และกระบวยเล็กอย่างละ 1 อัน หากใครใช้กระบวยใหญ่ตักดื่มน้ำแล้ว เทน้ำที่เหลือทิ้ง หรือใช้กระบวยเล็กตักดื่มซ้ำเมื่อไม่อิ่ม ต่างก็โดนก๋งยิง (เป็นอาวุธที่ใช้ลูกหินขนาดเล็กเป็นกระสุนสามารถทำให้เจ็บตัวหรือเป็นแผลได้) ด้วยเหตุผลที่ว่าไม่รู้จักประมาณตนเอง หรือไม่ประหยัด นอกจากนี้เจ้าหลวงพิมพิสารยังมีกิจการค้าไม้สัก ทำรายได้เข้าเมืองแพร่นับหลายล้านบาทต่อปี ทำให้เศรษฐกิจในเมืองแพร่มีความต่อเนื่องและเป็นไปได้ดี[3]และพระองค์ยังทรงบูรณะวัดหลวง เมืองแพร่ในปีพ.ศ. 2416

พระยาพิมพิสาร ถึงแก่อนิจกรรมเวลาบ่าย 5 โมง แรม 7 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ พ.ศ. 2429 สิริชันษา 73 ปี

ราชโอรส-ธิดา

พระยาพิมพิสาร มีพระชายา และราชโอรส-ธิดา ดังนี้[3]

  • แม่เจ้าแก้วไหลมา (พบหลักฐานในแผ่นศิลา-จารึกที่วัดหลวง) แต่ไม่ปรากฏมีว่าราชบุตร ด้วยกันหรือไม่
  • แม่เจ้าธิดาเทวี มีราชโอรส-ธิดา 4 พระองค์ คือ
  • แม่เจ้าไข เสกสมรสกับ เจ้าชัยลังกา ไม่มีบุตร
  • แม่เจ้าเบาะ สมรสกับ เจ้าหัวหน้า มีโอรส-ธิดา 2 คน
1.เจ้าฟองคำ สามีไม่ทราบนาม
2.เจ้าน้อยทวงศ์ สมรสกับแม่เจ้าขันคำ รสเข้ม (ไม่มีบุตร)
  • แม่เจ้าอินทร์ลงเหลา เสกสมรสกับเจ้าหนานศรีทิ (เจ้านายเมืองน่าน) มีโอรส-ธิดา 3 คน
1.เจ้าศรีเมือง
2.แม่เจ้าฟอง บรรเลง สมรสกับนายหนานแสน บรรเลง โยมมารดา-บิดา พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว) อดีตเจ้าคณะตรวจการภาค 4 และ 5
3.แม่เจ้าแก้วเหลี่ยมเพชร
  • แม่เจ้าคำใย้เทวี มีโอรส 1 พระองค์ คือ
  • สมรสครั้งที่1 กับแม่เจ้าสุชาดา (ไม่มีบุตร)
  • สมรสครั้งที่2 กับหม่อมฟองแก้ว มีธิดา 1 คน คือ
เจ้าบุญนำ วังซ้าย (สารศิริวงศ์)
  • สมรสครั้งที่3 กับหม่อมเป็ง มีโอรส 1 คน คือ
เจ้าน้อย สารศิริวงศ์
  • สมรสครั้งที่4 กับหม่อมแก้ว มีโอรส 1 คน คือ
เจ้าน้อยเป็ด สารศิริวงศ์
  • หม่อมจันทร์ (พบชื่อในประวัติพญาพรหมโวหาร) ไม่ปรากฏว่ามีราชบุตรด้วยกันหรือไม่

พระอิสริยยศ

  • พ.ศ. 2356 เจ้าพิมพิสาร
  • ก่อนพ.ศ. 2390 พระยาราชวงศ์
  • พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2429 พระยานครแพร่

พงศาวลี

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 วรชาติ มีชูบท. เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2556. 428 หน้า. หน้า 20. ISBN 978-616-220-054-0
  2. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๔. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2555. 2,136 หน้า. หน้า 1559. ISBN 978-616-7146-30-0
  3. 3.0 3.1 "เจ้าหลวงพิมพิสาร (พิมสาร หรือขาเค)". วังฟ่อนดอตคอม. 18 สิงหาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
ก่อนหน้า พระยาพิมพิสารราชา ถัดไป
พระยาอินทวิไชย เจ้าผู้ครองนครแพร่
(พ.ศ. 2390 — พ.ศ. 2429)
เจ้าพิริยเทพวงษ์