ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| พระบิดา = โยชิฮิซะ โทกูงาวะ
| พระบิดา = โยชิฮิซะ โทกูงาวะ
| พระมารดา = {{nowrap|เจ้าหญิงมิเอโกะแห่งอาริซูงาวะ}}
| พระมารดา = {{nowrap|เจ้าหญิงมิเอโกะแห่งอาริซูงาวะ}}
| พระสวามี = [[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนมิยะ]] <small>(2473–2530)</small>
| พระสวามี = [[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ]] <small>(2473–2530)</small>
| พระโอรส/ธิดา =
| พระโอรส/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] <small>(เสกสมรส)</small>
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] <small>(เสกสมรส)</small>
}}
}}


'''เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|宣仁親王妃喜久子|Nobuhito Shinnōhi Kikuko}}; 26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) มีพระนามเดิมว่า '''คิกูโกะ โทกูงาวะ''' ({{ญี่ปุ่น|徳川喜久子|Tokugawa Kikuko}}) เป็นพระชายาใน[[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนมิยะ]]<ref name="taka" /> เป็นพระสุณิสาใน[[จักรพรรดิไทโช]] และเป็นพระปิตุลานีใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]]
'''เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|宣仁親王妃喜久子|Nobuhito Shinnōhi Kikuko}}; 26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) มีพระนามเดิมว่า '''คิกูโกะ โทกูงาวะ''' ({{ญี่ปุ่น|徳川喜久子|Tokugawa Kikuko}}) เป็นพระชายาใน[[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ]]<ref name="taka" /> เป็นพระสุณิสาใน[[จักรพรรดิไทโช]] และเป็นพระปิตุลานีใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ]]


== พระประวัติ ==
== พระประวัติ ==
=== พระชนม์ชีพตอนต้น ===
=== พระชนม์ชีพตอนต้น ===
เจ้าหญิงคิกูโกะประสูติเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 หรือพระนามเดิมคิกูโกะ โทกูงาวะ เป็นธิดาคนที่สองของโยชิฮิซะ โทกูงาวะ กับมิเอโกะ โทกูงาวะ (พระนามเดิม เจ้าหญิงมิเอโกะแห่งอาริซูงาวะ) บิดาเป็นบุตรของ[[โทกูงาวะ โยชิโนบุ|โยชิโนบุ โทกูงาวะ]] [[โชกุน]]คนสุดท้ายของญี่ปุ่น ส่วนมารดาเป็นพระธิดาใน[[เจ้าชายทาเกฮิโตะ อาริซูงาวาโนมิยะ]] ทายาทรุ่นที่ 7 ของตำแหน่งเจ้าชายอาริซูงาวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ราชสกุลที่สืบมาแต่[[ยุคเอโดะ|สมัยเอโดะ]]
เจ้าหญิงคิกูโกะประสูติเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 หรือพระนามเดิมคิกูโกะ โทกูงาวะ เป็นธิดาคนที่สองของโยชิฮิซะ โทกูงาวะ กับมิเอโกะ โทกูงาวะ (พระนามเดิม เจ้าหญิงมิเอโกะแห่งอาริซูงาวะ) บิดาเป็นบุตรของ[[โทกูงาวะ โยชิโนบุ|โยชิโนบุ โทกูงาวะ]] [[โชกุน]]คนสุดท้ายของญี่ปุ่น ส่วนมารดาเป็นพระธิดาใน[[เจ้าชายทาเกฮิโตะ อาริซูงาวะโนะมิยะ]] ทายาทรุ่นที่ 7 ของตำแหน่งเจ้าชายอาริซูงาวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ราชสกุลที่สืบมาแต่[[ยุคเอโดะ|สมัยเอโดะ]]


คิกูโกะสำเร็จการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนกากูชูอิง]]ซึ่งเป็นโรงเรียนหญิงล้วน จนเมื่อมีอายุได้ 18 ปี คิกูโกะจึงได้หมั้นกับ[[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนมิยะ]] ซึ่งขณะนั้นอยู่ในลำดับที่สามของการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น
คิกูโกะสำเร็จการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนกากูชูอิง]]ซึ่งเป็นโรงเรียนหญิงล้วน จนเมื่อมีอายุได้ 18 ปี คิกูโกะจึงได้หมั้นกับ[[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ]] ซึ่งขณะนั้นอยู่ในลำดับที่สามของการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น


=== เสกสมรส ===
=== เสกสมรส ===
เธอได้เสกสมรสกับ[[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนมิยะ]] เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ที่จัดขึ้นภายใน[[พระราชวังอิมพีเรียล]] หลังการเสกสมรสได้เพียงไม่นานทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ ไปประกอบพระกรณียกิจในต่างประเทศ ก่อนจะเสด็จฯ นิวัตกลับมายังประเทศญี่ปุ่นในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2474 และเข้าพำนักในทากานาวะ [[มินาโตะ (โตเกียว)|แขวงมินาโตะ]] [[กรุงโตเกียว]]
เธอได้เสกสมรสกับ[[เจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ]] เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ที่จัดขึ้นภายใน[[พระราชวังอิมพีเรียล]] หลังการเสกสมรสได้เพียงไม่นานทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ ไปประกอบพระกรณียกิจในต่างประเทศ ก่อนจะเสด็จฯ นิวัตกลับมายังประเทศญี่ปุ่นในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2474 และเข้าพำนักในทากานาวะ [[มินาโตะ (โตเกียว)|แขวงมินาโตะ]] [[กรุงโตเกียว]]


เจ้าชายโนบูฮิโตะและเจ้าหญิงคิกูโกะทรงครองคู่มายาวนานแต่ไม่มีพระโอรส-ธิดาด้วยกัน จนกระทั่งพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียก่อนในปี พ.ศ. 2530
เจ้าชายโนบูฮิโตะและเจ้าหญิงคิกูโกะทรงครองคู่มายาวนานแต่ไม่มีพระโอรส-ธิดาด้วยกัน จนกระทั่งพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียก่อนในปี พ.ศ. 2530
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
|4= 4. [[โทกูงาวะ โยชิโนบุ|โยชิโนบุ โทกูงาวะ]]
|4= 4. [[โทกูงาวะ โยชิโนบุ|โยชิโนบุ โทกูงาวะ]]
|5= 5. ชิง ชิมมูระ
|5= 5. ชิง ชิมมูระ
|6= 6. [[เจ้าชายทาเกฮิโตะ เจ้าอาริซูงาวะ]]
|6= 6. [[เจ้าชายทาเกฮิโตะ อาริซูงาวะโนะมิยะ]]
|7= 7. ยาซูโกะ มาเอดะ
|7= 7. ยาซูโกะ มาเอดะ
|8= 8. [[โทกูงาวะ นาริอากิ|นาริอากิ โทกูงาวะ]]
|8= 8. [[โทกูงาวะ นาริอากิ|นาริอากิ โทกูงาวะ]]
บรรทัด 68: บรรทัด 68:
|10= 10. มาซาตากะ มัตสึไดระ
|10= 10. มาซาตากะ มัตสึไดระ
|11=
|11=
|12= 12. [[เจ้าชายทากาฮิโตะ เจ้าอาริซูงาวะ]]
|12= 12. [[เจ้าชายทากาฮิโตะ อาริซูงาวะโนะมิยะ]]
|13= 13. พระสนมโนริโกะ
|13= 13. พระสนมโนริโกะ
|14= 14. [[มาเอดะ โยชิยาซุ|โยชิยาซุ มาเอดะ]]
|14= 14. [[มาเอดะ โยชิยาซุ|โยชิยาซุ มาเอดะ]]
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
|16= 16. [[โทกูงาวะ ฮารูโตชิ|ฮารูโตชิ โทกูงาวะ]]
|16= 16. [[โทกูงาวะ ฮารูโตชิ|ฮารูโตชิ โทกูงาวะ]]
|17= 17. นางโทยามะ
|17= 17. นางโทยามะ
|18= 18. เจ้าชายโอริฮิโตะ เจ้าอาริซูงาวะ
|18= 18. เจ้าชายโอริฮิโตะ อาริซูงาวะโนะมิยะ
|19= 19. คิโยโกะ อันโด
|19= 19. คิโยโกะ อันโด
|20=
|20=
บรรทัด 80: บรรทัด 80:
|22=
|22=
|23=
|23=
|24= 24. เจ้าชายสึนาฮิโตะ เจ้าอาริซูงาวะ
|24= 24. เจ้าชายสึนาฮิโตะ อาริซูงาวะโนะมิยะ
|25= 25. คัตสึโกะ โทชิมะ
|25= 25. คัตสึโกะ โทชิมะ
|26=
|26=

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:37, 5 มกราคม 2563

เจ้าหญิงคิกูโกะ
เจ้าหญิงพระชายา
ประสูติ26 ธันวาคม พ.ศ. 2454
โตเกียว จักรวรรดิญี่ปุ่น
สิ้นพระชนม์18 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (92 ปี)
โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
พระสวามีเจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ (2473–2530)
ราชวงศ์ญี่ปุ่น (เสกสมรส)
พระบิดาโยชิฮิซะ โทกูงาวะ
พระมารดาเจ้าหญิงมิเอโกะแห่งอาริซูงาวะ

เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ (ญี่ปุ่น: 宣仁親王妃喜久子โรมาจิNobuhito Shinnōhi Kikuko; 26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) มีพระนามเดิมว่า คิกูโกะ โทกูงาวะ (ญี่ปุ่น: 徳川喜久子โรมาจิTokugawa Kikuko) เป็นพระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ[1] เป็นพระสุณิสาในจักรพรรดิไทโช และเป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

พระประวัติ

พระชนม์ชีพตอนต้น

เจ้าหญิงคิกูโกะประสูติเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 หรือพระนามเดิมคิกูโกะ โทกูงาวะ เป็นธิดาคนที่สองของโยชิฮิซะ โทกูงาวะ กับมิเอโกะ โทกูงาวะ (พระนามเดิม เจ้าหญิงมิเอโกะแห่งอาริซูงาวะ) บิดาเป็นบุตรของโยชิโนบุ โทกูงาวะ โชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น ส่วนมารดาเป็นพระธิดาในเจ้าชายทาเกฮิโตะ อาริซูงาวะโนะมิยะ ทายาทรุ่นที่ 7 ของตำแหน่งเจ้าชายอาริซูงาวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ราชสกุลที่สืบมาแต่สมัยเอโดะ

คิกูโกะสำเร็จการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาจากโรงเรียนกากูชูอิงซึ่งเป็นโรงเรียนหญิงล้วน จนเมื่อมีอายุได้ 18 ปี คิกูโกะจึงได้หมั้นกับเจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ ซึ่งขณะนั้นอยู่ในลำดับที่สามของการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น

เสกสมรส

เธอได้เสกสมรสกับเจ้าชายโนบูฮิโตะ ทากามัตสึโนะมิยะ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ที่จัดขึ้นภายในพระราชวังอิมพีเรียล หลังการเสกสมรสได้เพียงไม่นานทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ ไปประกอบพระกรณียกิจในต่างประเทศ ก่อนจะเสด็จฯ นิวัตกลับมายังประเทศญี่ปุ่นในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2474 และเข้าพำนักในทากานาวะ แขวงมินาโตะ กรุงโตเกียว

เจ้าชายโนบูฮิโตะและเจ้าหญิงคิกูโกะทรงครองคู่มายาวนานแต่ไม่มีพระโอรส-ธิดาด้วยกัน จนกระทั่งพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียก่อนในปี พ.ศ. 2530

ปลายพระชนม์ชีพ

เจ้าชายโนบูฮิโตะและเจ้าหญิงคิกูโกะในเบอร์ลิน พ.ศ. 2473

เจ้าหญิงคิกูโกะได้เป็นพระกุลเชษฐ์ที่มีพระชันษาสูงที่สุดของราชวงศ์ญี่ปุ่น หลังจากการสวรรคตของจักรพรรดินีโคจุง พระราชชนนีในสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะในปี พ.ศ. 2543

เมื่อครั้งการประสูติกาลของเจ้าหญิงไอโกะ พระธิดาเพียงพระองค์เดียวในมกุฎราชกุมารนารูฮิโตะ และมกุฎราชกุมารีมาซาโกะ พระองค์ถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่ทรงกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชบัลลังก์ของฝ่ายในต่อสาธารณชน[2] โดยทรงนิพนธ์บทความลงในนิตยสารฟูจิง-โกรง ซึ่งเป็นนิตยสารรายเดือน ซึ่งภายในมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับแนวความคิดที่จะให้ฝ่ายในสามารถสืบราชสมบัติได้[1]

"ข้าพเจ้าคิดว่ามันเป็นไปได้ที่จะให้พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในสามารถครองราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 127 และก็ไม่เป็นการแปลกอันใด เมื่อพิจารณาถึงประวัติศาสตร์อันยาวนานของญี่ปุ่น"[1]

เจ้าหญิงคิกูโกะสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ณ ศูนย์การแพทย์เซนต์ลู้ก กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น หลังเสด็จฯ เข้ารับการรักษาพระโรคบ่อยครั้งตามพระชันษา สิริพระชันษา 92 ปี โดยมีการจัดพระราชพิธีเมื่อวันที่ 26 ธันวาคมปีเดียวกันนั้นเอง ณ สุสานโทชิมางาโอกะ แขวงบุงเกียว กรุงโตเกียว[3]

พระเกียรติยศ

พระอิสริยยศ

  • เลดีคิกูโกะ โทกูงาวะ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473)
  • เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาฯ (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

พงศาวลี

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 "Princess backs Japan succession change". BBC. News. 7 January 2002. สืบค้นเมื่อ 7 October 2010.
  2. เรื่องราวของเจ้าหญิงมาซาโกะและเจ้าหญิงไอโกะ
  3. News24.com Japanese Princess buried

แหล่งข้อมูลอื่น