ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จาง กั๋วหรง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
| thaifilmdb_id =
| thaifilmdb_id =
}}
}}
'''เลสลี่ จาง''' ({{lang-en|Leslie Cheung}}) มีชื่อภาษาจีนว่า '''จาง กั๊วหยง''' ({{zh-all|t=張國榮|s=张国荣|p=Zhāng Guóróng}}; เกิด 12 กันยายน ค.ศ. 1956) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวฮ่องกง ได้ชื่อว่าเป็นราชาเพลงป๊อบแห่งคริสต์ทศวรรษ 1980{{อ้างอิง}}
'''เลสลี่ จาง''' ({{lang-en|Leslie Cheung}}) มีชื่อภาษาจีนว่า '''จาง กั๊วหยง''' ({{zh-all|t=張國榮|s=张国荣|p=Zhāng Guóróng}}; 12 กันยายน ค.ศ. 1956–1 เมษายน ค.ศ. 2003) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวฮ่องกง ได้ชื่อว่าเป็นราชาเพลงป๊อบแห่งคริสต์ทศวรรษ 1980{{อ้างอิง}}


จางเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยพี่คนที่ 9 อายุห่างกันกับเขามากถึง 8 ปี บิดามีอาชีพเป็นช่างตัดเสื้อรายใหญ่ เคยตัดเสื้อให้กับบุคคลที่มีชื่อเสียงมาแล้ว เช่น [[วิลเลียม โฮลเดน]] หรือ [[อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก]] ในวัยเด็ก เลสลี จาง เคยเผยว่า ตัวเองรู้สึกเหงามากที่ต้องถูกทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวกับบรรดาตุ๊กตาและของเล่นต่างๆ บิดาก็ไม่เคยควบคุมอารมณ์ตนเองได้เลย ชีวิตในครอบครัวเต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้งและการใช้อารมณ์ เขาจึงโตมาด้วยยายเป็นผู้เลี้ยงดู เลสลี จาง เข้าศึกษาด้านสิ่งทอที่มหาวิทยาลัยลีดส์ ประเทศ[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] เพื่อสืบทอดกิจการของครอบครัว แต่ต้องกลับมาก่อนเรียนจบ เพราะบิดาป่วยหนัก
จางเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยพี่คนที่ 9 อายุห่างกันกับเขามากถึง 8 ปี บิดามีอาชีพเป็นช่างตัดเสื้อรายใหญ่ เคยตัดเสื้อให้กับบุคคลที่มีชื่อเสียงมาแล้ว เช่น [[วิลเลียม โฮลเดน]] หรือ [[อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก]] ในวัยเด็ก เลสลี จาง เคยเผยว่า ตัวเองรู้สึกเหงามากที่ต้องถูกทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวกับบรรดาตุ๊กตาและของเล่นต่างๆ บิดาก็ไม่เคยควบคุมอารมณ์ตนเองได้เลย ชีวิตในครอบครัวเต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้งและการใช้อารมณ์ เขาจึงโตมาด้วยยายเป็นผู้เลี้ยงดู เลสลี จาง เข้าศึกษาด้านสิ่งทอที่มหาวิทยาลัยลีดส์ ประเทศ[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] เพื่อสืบทอดกิจการของครอบครัว แต่ต้องกลับมาก่อนเรียนจบ เพราะบิดาป่วยหนัก


เลสลี่ จาง เริ่มต้นอาชีพวงการบันเทิงในช่วงปลายทศวรรษที่ 70 ด้วยการเข้าประกวดร้องเพลง ซึ่งจัดโดยค่ายสถาโทรทัศน์เอเชียเทลิวิชัน ฮ่องกง หรือ RTV (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ATV) ได้รางวัลชนะเลิศอันดับที่สาม ต่อมาได้เป็นนักร้องและมาประสบความสำเร็จอย่างสูงในช่วงต้นยุค 80s มีผลงานเพลงโด่งดังมากมาย เป็นหนึ่งในราชาเพลง[[ป็อป]] (Kings of Canto - pop) ของเกาะ[[ฮ่องกง]]ในยุคนั้น ทั้งยังโด่งดังเป็นที่ยอมรับในวงการเพลงทั่วเอเชียเป็นอย่างมาก และได้รับยกย่องเป็นหนึ่งใน 10 นักร้องชายเพลงจีนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 30 ปี (ทศวรรษ ที่ 70s 80s และ 90s) ของเกาะฮ่องกง ร่วมกับ แซม ฮุย (Samuel Hui) , หลอ เหวิน (Roman Tam) , [[อลัน ทัม]] (Alan Tam) , [[หลิว เต๋อหัว]] (Andy Lau) , [[จาง เสฺวโหย่ว|จาง เซียะโหย่ว]] (Jacky Cheung) , [[หลี่ หมิง]] (Leon Lai) , [[กัว ฟู่เฉิง]] (Aaron Kwok) , [[เฉิน อี้ซวิ่น]] (Eason Chan) และหว่อง กาเค่ย (Wong Ka Kui) นักร้องนำวง Beyond   เลสลี่ จาง เคยมาโปรโมตผลงานเพลง ในประเทศไทย ที่โรงแรมมณเฑียร กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2525 อีกด้วย
เลสลี่ จาง เริ่มต้นอาชีพวงการบันเทิงในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ด้วยการเข้าประกวดร้องเพลง ซึ่งจัดโดยค่ายสถาโทรทัศน์เอเชียเทลิวิชัน ฮ่องกง หรือ RTV (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ATV) ได้รางวัลชนะเลิศอันดับที่สาม ต่อมาได้เป็นนักร้องและมาประสบความสำเร็จอย่างสูงในช่วงต้นยุค 80s มีผลงานเพลงโด่งดังมากมาย เป็นหนึ่งในราชาเพลง[[ป็อป]] (Kings of Canto - pop) ของเกาะ[[ฮ่องกง]]ในยุคนั้น ทั้งยังโด่งดังเป็นที่ยอมรับในวงการเพลงทั่วเอเชียเป็นอย่างมาก และได้รับยกย่องเป็นหนึ่งใน 10 นักร้องชายเพลงจีนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 30 ปี (ทศวรรษ ที่ 70s 80s และ 90s) ของเกาะฮ่องกง ร่วมกับ แซม ฮุย (Samuel Hui) , หลอ เหวิน (Roman Tam) , [[อลัน ทัม]] (Alan Tam) , [[หลิว เต๋อหัว]] (Andy Lau) , [[จาง เสฺวโหย่ว|จาง เซียะโหย่ว]] (Jacky Cheung) , [[หลี่ หมิง]] (Leon Lai) , [[กัว ฟู่เฉิง]] (Aaron Kwok) , [[เฉิน อี้ซวิ่น]] (Eason Chan) และหว่อง กาเค่ย (Wong Ka Kui) นักร้องนำวง Beyond   เลสลี่ จาง เคยมาโปรโมตผลงานเพลง ในประเทศไทย ที่โรงแรมมณเฑียร กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2525 อีกด้วย


ส่วนผลงานทางด้านการแสดง เลสลี จาง เริ่มต้นจากการแสดงละครซีรีส์ให้กับค่ายสถานีโทรทัศน์เอเชียเทลิวิชันฮ่องกง หรือ RTV (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ATV) มีผลงานซีรีส์โดดเด่นในเรื่อง นักสู้ผู้พิชิต (Spirit of the Sword , 1978) หลังจากนั้นเข้าสู่วงการภาพยนตร์ด้วยภาพลักษณ์ "เด็กเสเพล" หรือ "แบดบอย" มีผลงานภาพยนตร์โด่งดังหลายเรื่อง เช่น [[โหด เลว ดี]] ภาค 1 , ภาค 2 (A Better Tomorrow , 1986 / 1987 ) ผลงานกำกับของ[[จอห์น วู]] ร่วมแสดงกับนักแสดงชั้นนำอย่าง [[โจว เหวินฟะ]] , [[ตี้ หลุง|ตี้หลุง]] ภาพยนตร์จีนชุดเรื่อง โปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 1 , ภาค 2 (A Chinese Ghost Story , 1987 / 1989) แสดงคู่กับ หวัง จู่เสียน ภาพยนตร์แนวอาร์ตเหงาๆของผู้กำกับ [[หว่อง ก๊า ไหว่|หว่อง คาไว]] หลายเรื่อง เช่น วันที่หัวใจกล้าตัดเส้นขอบฟ้า (Days of Being Wild , 1991) โลกนี้รักใครไม่ได้นอกจากเขา (Happy Together , 1997) แสดงบทเกย์คู่กับ[[เหลียง เฉาเหว่ย]] เป็นต้น แต่บทบาทการแสดงที่ทำให้เลสลี จาง ได้รับการกล่าวขานอย่างมากคือ การรับบทเป็น เตี่ยอี๋ นักแสดง[[อุปรากรจีน]]ที่เป็น[[รักร่วมเพศ]] จากผลงานของผู้กำกับ[[เฉิน ข่ายเกอ]] ในภาพยนตร์เรื่อง หลายแผ่นดินแม้สิ้นใจก็ไม่ลืม ([[หลายแผ่นดิน แม้สิ้นใจ ก็ไม่ลืม|Farewell My Concubine]] , 1993) เลสลี่ จาง สามารถเข้าถึงบทบาทจนตีบทแตกกระจุย ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จอย่างมากได้เข้าชิง[[รางวัลออสการ์]] สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม และเขาได้รับยกย่องว่า เป็นนักแสดงยอดฝีมือของวงการหนังจีนฮ่องกง และเอเชีย
ส่วนผลงานทางด้านการแสดง เลสลี จาง เริ่มต้นจากการแสดงละครซีรีส์ให้กับค่ายสถานีโทรทัศน์เอเชียเทลิวิชันฮ่องกง หรือ RTV (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ATV) มีผลงานซีรีส์โดดเด่นในเรื่อง นักสู้ผู้พิชิต (Spirit of the Sword , 1978) หลังจากนั้นเข้าสู่วงการภาพยนตร์ด้วยภาพลักษณ์ "เด็กเสเพล" หรือ "แบดบอย" มีผลงานภาพยนตร์โด่งดังหลายเรื่อง เช่น [[โหด เลว ดี]] ภาค 1 , ภาค 2 (A Better Tomorrow , 1986 / 1987 ) ผลงานกำกับของ[[จอห์น วู]] ร่วมแสดงกับนักแสดงชั้นนำอย่าง [[โจว เหวินฟะ]] , [[ตี้ หลุง|ตี้หลุง]] ภาพยนตร์จีนชุดเรื่อง โปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 1 , ภาค 2 (A Chinese Ghost Story , 1987 / 1989) แสดงคู่กับ หวัง จู่เสียน ภาพยนตร์แนวอาร์ตเหงาๆของผู้กำกับ [[หว่อง ก๊า ไหว่|หว่อง คาไว]] หลายเรื่อง เช่น วันที่หัวใจกล้าตัดเส้นขอบฟ้า (Days of Being Wild , 1991) โลกนี้รักใครไม่ได้นอกจากเขา (Happy Together , 1997) แสดงบทเกย์คู่กับ[[เหลียง เฉาเหว่ย]] เป็นต้น แต่บทบาทการแสดงที่ทำให้เลสลี จาง ได้รับการกล่าวขานอย่างมากคือ การรับบทเป็น เตี่ยอี๋ นักแสดง[[อุปรากรจีน]]ที่เป็น[[รักร่วมเพศ]] จากผลงานของผู้กำกับ[[เฉิน ข่ายเกอ]] ในภาพยนตร์เรื่อง หลายแผ่นดินแม้สิ้นใจก็ไม่ลืม ([[หลายแผ่นดิน แม้สิ้นใจ ก็ไม่ลืม|Farewell My Concubine]] , 1993) เลสลี่ จาง สามารถเข้าถึงบทบาทจนตีบทแตกกระจุย ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จอย่างมากได้เข้าชิง[[รางวัลออสการ์]] สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม และเขาได้รับยกย่องว่า เป็นนักแสดงยอดฝีมือของวงการหนังจีนฮ่องกง และเอเชีย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:13, 30 กรกฎาคม 2562

เลสลี จาง
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด12 กันยายน ค.ศ. 1956
จาง ฟะฉุง
เสียชีวิต1 เมษายน ค.ศ. 2003 (46 ปี)
ฮ่องกง
ปีที่แสดงค.ศ. 1977-ค.ศ. 2003
ฐานข้อมูล
IMDb

เลสลี่ จาง (อังกฤษ: Leslie Cheung) มีชื่อภาษาจีนว่า จาง กั๊วหยง (จีนตัวย่อ: 张国荣; จีนตัวเต็ม: 張國榮; พินอิน: Zhāng Guóróng; 12 กันยายน ค.ศ. 1956–1 เมษายน ค.ศ. 2003) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวฮ่องกง ได้ชื่อว่าเป็นราชาเพลงป๊อบแห่งคริสต์ทศวรรษ 1980[ต้องการอ้างอิง]

จางเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 10 คน โดยพี่คนที่ 9 อายุห่างกันกับเขามากถึง 8 ปี บิดามีอาชีพเป็นช่างตัดเสื้อรายใหญ่ เคยตัดเสื้อให้กับบุคคลที่มีชื่อเสียงมาแล้ว เช่น วิลเลียม โฮลเดน หรือ อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก ในวัยเด็ก เลสลี จาง เคยเผยว่า ตัวเองรู้สึกเหงามากที่ต้องถูกทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวกับบรรดาตุ๊กตาและของเล่นต่างๆ บิดาก็ไม่เคยควบคุมอารมณ์ตนเองได้เลย ชีวิตในครอบครัวเต็มไปด้วยการทะเลาะเบาะแว้งและการใช้อารมณ์ เขาจึงโตมาด้วยยายเป็นผู้เลี้ยงดู เลสลี จาง เข้าศึกษาด้านสิ่งทอที่มหาวิทยาลัยลีดส์ ประเทศอังกฤษ เพื่อสืบทอดกิจการของครอบครัว แต่ต้องกลับมาก่อนเรียนจบ เพราะบิดาป่วยหนัก

เลสลี่ จาง เริ่มต้นอาชีพวงการบันเทิงในช่วงปลายทศวรรษ 1970 ด้วยการเข้าประกวดร้องเพลง ซึ่งจัดโดยค่ายสถาโทรทัศน์เอเชียเทลิวิชัน ฮ่องกง หรือ RTV (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ATV) ได้รางวัลชนะเลิศอันดับที่สาม ต่อมาได้เป็นนักร้องและมาประสบความสำเร็จอย่างสูงในช่วงต้นยุค 80s มีผลงานเพลงโด่งดังมากมาย เป็นหนึ่งในราชาเพลงป็อป (Kings of Canto - pop) ของเกาะฮ่องกงในยุคนั้น ทั้งยังโด่งดังเป็นที่ยอมรับในวงการเพลงทั่วเอเชียเป็นอย่างมาก และได้รับยกย่องเป็นหนึ่งใน 10 นักร้องชายเพลงจีนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 30 ปี (ทศวรรษ ที่ 70s 80s และ 90s) ของเกาะฮ่องกง ร่วมกับ แซม ฮุย (Samuel Hui) , หลอ เหวิน (Roman Tam) , อลัน ทัม (Alan Tam) , หลิว เต๋อหัว (Andy Lau) , จาง เซียะโหย่ว (Jacky Cheung) , หลี่ หมิง (Leon Lai) , กัว ฟู่เฉิง (Aaron Kwok) , เฉิน อี้ซวิ่น (Eason Chan) และหว่อง กาเค่ย (Wong Ka Kui) นักร้องนำวง Beyond   เลสลี่ จาง เคยมาโปรโมตผลงานเพลง ในประเทศไทย ที่โรงแรมมณเฑียร กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2525 อีกด้วย

ส่วนผลงานทางด้านการแสดง เลสลี จาง เริ่มต้นจากการแสดงละครซีรีส์ให้กับค่ายสถานีโทรทัศน์เอเชียเทลิวิชันฮ่องกง หรือ RTV (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ATV) มีผลงานซีรีส์โดดเด่นในเรื่อง นักสู้ผู้พิชิต (Spirit of the Sword , 1978) หลังจากนั้นเข้าสู่วงการภาพยนตร์ด้วยภาพลักษณ์ "เด็กเสเพล" หรือ "แบดบอย" มีผลงานภาพยนตร์โด่งดังหลายเรื่อง เช่น โหด เลว ดี ภาค 1 , ภาค 2 (A Better Tomorrow , 1986 / 1987 ) ผลงานกำกับของจอห์น วู ร่วมแสดงกับนักแสดงชั้นนำอย่าง โจว เหวินฟะ , ตี้หลุง ภาพยนตร์จีนชุดเรื่อง โปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 1 , ภาค 2 (A Chinese Ghost Story , 1987 / 1989) แสดงคู่กับ หวัง จู่เสียน ภาพยนตร์แนวอาร์ตเหงาๆของผู้กำกับ หว่อง คาไว หลายเรื่อง เช่น วันที่หัวใจกล้าตัดเส้นขอบฟ้า (Days of Being Wild , 1991) โลกนี้รักใครไม่ได้นอกจากเขา (Happy Together , 1997) แสดงบทเกย์คู่กับเหลียง เฉาเหว่ย เป็นต้น แต่บทบาทการแสดงที่ทำให้เลสลี จาง ได้รับการกล่าวขานอย่างมากคือ การรับบทเป็น เตี่ยอี๋ นักแสดงอุปรากรจีนที่เป็นรักร่วมเพศ จากผลงานของผู้กำกับเฉิน ข่ายเกอ ในภาพยนตร์เรื่อง หลายแผ่นดินแม้สิ้นใจก็ไม่ลืม (Farewell My Concubine , 1993) เลสลี่ จาง สามารถเข้าถึงบทบาทจนตีบทแตกกระจุย ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จอย่างมากได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม และเขาได้รับยกย่องว่า เป็นนักแสดงยอดฝีมือของวงการหนังจีนฮ่องกง และเอเชีย

ในปี ค.ศ. 2000 เลสลี่ จาง เปิดเผยว่าตนเองเป็นเกย์ รวมทั้งแต่งตัวเป็นผู้หญิงในการร้องเพลงบนเวทีคอนเสิร์ตของเขาอีกด้วย แม้เมื่อวัย 22 ปี เขาจะเคยขอ เหมา ซุ่นหวิน อดีตแฟนสาวแต่งงานด้วยก็ตาม ตอนนั้นอาจเป็นการสร้างกระแสเพื่อกลบข่าวการเป็นเกย์ของเขา ซึ่งเป็นเรื่องปกติในสมัยก่อนที่ยังไม่ยอมรับการผิดเพศสภาพเหมือนยุคปัจจุบัน[1]

เลสลี่ จาง เสียชีวิตอย่างกะทันหันจากการทำอัตวินิบาตกรรม ด้วยการกระโดดลงมาจากชั้น 24 ของโรงแรมแมนดาริน โอเรียนทัล ใจกลางฮ่องกง เมื่อเวลา 17.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2003 โดยเชื่อว่ามีสาเหตุจากความรักที่ไม่สมหวังกับผู้จัดการส่วนตัว โดยทิ้งจดหมาย ซึ่งเขียนว่าตัวเองได้รับความทุกข์ทรมานจากโรคซึมเศร้า [2][3][4][5][6][7] [8]

ในปัจจุบัน เมื่อถึงวันที่ 1 เมษายน ของทุกๆปี ที่ฮ่องกงจะมีการจัดงานรำลึกถึงการจากไปของเลสลี่ จาง เสมอที่หน้าโรงแรมแมนดาริน โอเรียนทัล เกาะฮ่องกง [1] [9]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น