ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเซนายา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox Language |name=ภาษาเซนายา |nativename=<span dir="rtl">ܣܢܝܐ</span> ''Senāya'', <span dir="rtl">ܣܘܪܝ</span> ''Soray'' |pronun...
 
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Language
{{Infobox Language
|name=ภาษาเซนายา
| name = ภาษาเซนายา
|nativename=<span dir="rtl">ܣܢܝܐ</span>&nbsp;''Senāya'', <span dir="rtl">ܣܘܪܝ</span>&nbsp;''Soray''
|nativename=<span dir="rtl">ܣܢܝܐ</span>&nbsp;''Senāya'', <span dir="rtl">ܣܘܪܝ</span>&nbsp;''Soray''
|pronunciation=/sɛnɑjɑ/, /soraj/
| pronunciation = /sɛnɑjɑ/, /soraj/
|states=[[อิหร่าน]], [[ยุโรปตะวันตก]], [[ออสเตรเลีย]], [[สหรัฐอเมริกา]]
| states = [[อิหร่าน]], [[ยุโรปตะวันตก]], [[ออสเตรเลีย]], [[สหรัฐอเมริกา]]
|region=[[เตหะราน]] และ [[เมืองควาซวิน]]
| region = [[เตหะราน]] และ [[เมืองควาซวิน]]
|speakers=500 คน
| speakers = 500 คน
|familycolor=Afro-Asiatic
| familycolor = Afro-Asiatic
|fam2=[[ภาษากลุ่มเซมิติก]]
| fam2 = [[ภาษากลุ่มเซมิติก]]
|fam3=[[ภาษากลุ่มเซมิติกกลาง]]
| fam3 = [[ภาษากลุ่มเซมิติกกลาง]]
|fam4=[[ภาษาอราเมอิก]]
| fam4 = [[ภาษาอราเมอิก]]
|fam5=ภาษาอราเมอิกตะวันออก
| fam5 = ภาษาอราเมอิกตะวันออก
|fam6=ภาษาอราเมอิกตะวันออกตอนกลาง
| fam6 = ภาษาอราเมอิกตะวันออกตอนกลาง
|fam7=ภาษาอราเมอิกตะวันออกตอนกลางตะวันออกเฉียงเหนือ
| fam7 = ภาษาอราเมอิกตะวันออกตอนกลางตะวันออกเฉียงเหนือ
|script=[[อักษรซีเรียค]] (แบบ Māḏnhāyā)
| script = [[อักษรซีเรียค]] (แบบ Māḏnhāyā)
|iso2=syr|iso3=syn}}
|iso2=syr|iso3=syn}}


'''ภาษาเซนายา''' เป็น[[ภาษาอราเมอิก]]ตะวันออกหรือ[[ภาษาซีเรียค]]สมัยใหม่ เป็นภาษาของชาวอัสซีเรียที่มีต้นกำเนิดในซานันดัซ ใน[[เคอร์ดิชสถาน]]ของ[[อิหร่าน]] ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาคริสต์]]นิกายคาทอลิกคัลเดีย
'''ภาษาเซนายา''' เป็น[[ภาษาอราเมอิก]]ตะวันออกหรือ[[ภาษาซีเรียค]]สมัยใหม่ เป็นภาษาของชาวอัสซีเรียที่มีต้นกำเนิดในซานันดัซ ใน[[เคอร์ดิชสถาน]]ของ[[อิหร่าน]] ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาคริสต์]]นิกายคาทอลิกคัลเดีย
==จุดกำเนิด ประวัติศาสตร์และการใช้ในปัจจุบัน==
== จุดกำเนิด ประวัติศาสตร์และการใช้ในปัจจุบัน ==
เมืองซานันดัซเป็นบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของบริเวณที่เคยใช้ภาษาอราเมอิก สำเนียงของภาษาอราเมอิกใหม่ที่เกิดขึ้นในเมืองนี้ มีสองสำเนียงคือ [[ภาษาฮาลัวลา|สำเนียงฮาลัวลา]]ของชาวยิวและสำเนียงเซนายาของชาวคริสต์ ซึ่งแตกต่างกัน เช่น เสียง θ (th) ของภาษาอราเมอิกยุคกลาง เป็นเสียง l ในสำเนียงฮาลัวลา และs ในภาษาเซนายา ตัวอย่างเช่น , mîθa, 'ตาย' เป็น mîsa ในภาษาเซนายาและ mîla ในสำเนียงฮาลัวลา
เมืองซานันดัซเป็นบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของบริเวณที่เคยใช้ภาษาอราเมอิก สำเนียงของภาษาอราเมอิกใหม่ที่เกิดขึ้นในเมืองนี้ มีสองสำเนียงคือ [[ภาษาฮาลัวลา|สำเนียงฮาลัวลา]]ของชาวยิวและสำเนียงเซนายาของชาวคริสต์ ซึ่งแตกต่างกัน เช่น เสียง θ (th) ของภาษาอราเมอิกยุคกลาง เป็นเสียง l ในสำเนียงฮาลัวลา และs ในภาษาเซนายา ตัวอย่างเช่น , mîθa, 'ตาย' เป็น mîsa ในภาษาเซนายาและ mîla ในสำเนียงฮาลัวลา


ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดียที่แยกออกมาจากนิกายอัสซีเรียตะวันออกในพุทธศตวรรษที่ 21 และเข้าร่วมในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ผุ้พูดภาษานี้ไม่เข้าใจ[[ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย]]ที่ใช้พูดใน[[อิรัก]] ปัจจุบัน ชุมชนชาวคริสต์ในซานันดัซเริ่มลดลง ส่วนใหญ่อพยพมาอยู่ที่[[เตหะราน]] จนไม่มีผู้พูดภาษาเซนายาเป็นภาษาแม่ในซานันดัซ ภาษาในเตหะรานได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย]]สำเนียง อูร์เมซนายา (Urmežnāya) ชาวคริสต์กลุ่มนี้ใช้ภาษาซีเรียคเป็นภาษาทางศาสนา ภาษาเซนายาเขียนด้วย[[อักษรซีเรียค]]แบบ Madnhāyâ ซึ่งเป็นแบบที่ใช้กับภาษาซีเรียคคลาสสิก
ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดียที่แยกออกมาจากนิกายอัสซีเรียตะวันออกในพุทธศตวรรษที่ 21 และเข้าร่วมในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ผุ้พูดภาษานี้ไม่เข้าใจ[[ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย]]ที่ใช้พูดใน[[อิรัก]] ปัจจุบัน ชุมชนชาวคริสต์ในซานันดัซเริ่มลดลง ส่วนใหญ่อพยพมาอยู่ที่[[เตหะราน]] จนไม่มีผู้พูดภาษาเซนายาเป็นภาษาแม่ในซานันดัซ ภาษาในเตหะรานได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย]]สำเนียง อูร์เมซนายา (Urmežnāya) ชาวคริสต์กลุ่มนี้ใช้ภาษาซีเรียคเป็นภาษาทางศาสนา ภาษาเซนายาเขียนด้วย[[อักษรซีเรียค]]แบบ Madnhāyâ ซึ่งเป็นแบบที่ใช้กับภาษาซีเรียคคลาสสิก


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
* Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. ISBN 1-55540-430-8.
* Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. ISBN 1-55540-430-8.
{{อราเมอิกใหม่}}
{{อราเมอิกใหม่}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน|ซเนายา]]
[[en:Senaya language]]
[[en:Senaya language]]
[[br:Senayeg]]
[[br:Senayeg]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:38, 13 พฤศจิกายน 2550

ภาษาเซนายา
ܣܢܝܐ Senāya, ܣܘܪܝ Soray
ออกเสียง/sɛnɑjɑ/, /soraj/
ประเทศที่มีการพูดอิหร่าน, ยุโรปตะวันตก, ออสเตรเลีย, สหรัฐอเมริกา
ภูมิภาคเตหะราน และ เมืองควาซวิน
จำนวนผู้พูด500 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
แอโฟรเอชีแอติก
ระบบการเขียนอักษรซีเรียค (แบบ Māḏnhāyā)
รหัสภาษา
ISO 639-2syr
ISO 639-3syn

ภาษาเซนายา เป็นภาษาอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีเรียคสมัยใหม่ เป็นภาษาของชาวอัสซีเรียที่มีต้นกำเนิดในซานันดัซ ในเคอร์ดิชสถานของอิหร่าน ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดีย

จุดกำเนิด ประวัติศาสตร์และการใช้ในปัจจุบัน

เมืองซานันดัซเป็นบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของบริเวณที่เคยใช้ภาษาอราเมอิก สำเนียงของภาษาอราเมอิกใหม่ที่เกิดขึ้นในเมืองนี้ มีสองสำเนียงคือ สำเนียงฮาลัวลาของชาวยิวและสำเนียงเซนายาของชาวคริสต์ ซึ่งแตกต่างกัน เช่น เสียง θ (th) ของภาษาอราเมอิกยุคกลาง เป็นเสียง l ในสำเนียงฮาลัวลา และs ในภาษาเซนายา ตัวอย่างเช่น , mîθa, 'ตาย' เป็น mîsa ในภาษาเซนายาและ mîla ในสำเนียงฮาลัวลา

ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดียที่แยกออกมาจากนิกายอัสซีเรียตะวันออกในพุทธศตวรรษที่ 21 และเข้าร่วมในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ผุ้พูดภาษานี้ไม่เข้าใจภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดียที่ใช้พูดในอิรัก ปัจจุบัน ชุมชนชาวคริสต์ในซานันดัซเริ่มลดลง ส่วนใหญ่อพยพมาอยู่ที่เตหะราน จนไม่มีผู้พูดภาษาเซนายาเป็นภาษาแม่ในซานันดัซ ภาษาในเตหะรานได้รับอิทธิพลจากภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรียสำเนียง อูร์เมซนายา (Urmežnāya) ชาวคริสต์กลุ่มนี้ใช้ภาษาซีเรียคเป็นภาษาทางศาสนา ภาษาเซนายาเขียนด้วยอักษรซีเรียคแบบ Madnhāyâ ซึ่งเป็นแบบที่ใช้กับภาษาซีเรียคคลาสสิก

อ้างอิง

  • Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. ISBN 1-55540-430-8.