ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้ออักเสบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรค
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = ข้ออักเสบ<br /> (Arthritis)
| Name = ข้ออักเสบ<br /> (Arthritis)
| Image = Arthrite rhumatoide.jpg
| Image = Arthrite rhumatoide.jpg
| Caption = มือที่มีข้ออักเสบ
| Caption = มือที่มีข้ออักเสบ
| Width = 325
| Width = 325
| DiseasesDB = 15237
| DiseasesDB = 15237
| ICD10 = {{ICD10|M|00||m|00}}-{{ICD10|M|25||m|20}}
| ICD10 = {{ICD10|M|00||m|00}}-{{ICD10|M|25||m|20}}
| ICD9 = {{ICD9|710}}-{{ICD9|719}}
| ICD9 = {{ICD9|710}}-{{ICD9|719}}
| ICDO =
| ICDO =
| OMIM =
| OMIM =
| MedlinePlus = 001243
| MedlinePlus = 001243
| eMedicineSubj = search
| eMedicineSubj = search
| eMedicineTopic = arthritis
| eMedicineTopic = arthritis
| MeshID = D001168
| MeshID = D001168
}}
}}


'''ข้ออักเสบ''' ({{lang-en|Arthritis}}) เป็นกลุ่มของภาวะที่เกิดการทำลาย[[ข้อต่อ]]ของร่างกาย ข้ออักเสบมีได้มากกว่าร้อยรูปแบบ<ref>WebMd [http://www.webmd.com/osteoarthritis/guide/arthritis-basics Arthritis Basics]</ref> โดยรูปแบบที่พบมากที่สุดคือ[[ข้อเสื่อม]] (osteoarthritis) ซึ่งเกิดจากการบาดเจ็บของข้อต่อ การติดเชื้อของข้อและอายุ ส่วนข้ออักเสบรูปแบบอื่นเช่น[[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]] [[โรคข้อสะเก็ดเงิน]] จากภาวะ[[ภูมิต้านตนเอง]] [[ข้ออักเสบติดเชื้อ]] [[โรคเกาต์]]ซึ่งเกิดจากการสะสมของผลึก[[กรดยูริก]]ในข้อและทำให้เกิดการอักเสบ นอกจากนี้ยังมีการสะสมของผลึกแคลเซียมไพโรฟอสเฟตซึ่งเรียกว่า [[โรคเกาต์เทียม]]
'''ข้ออักเสบ''' ({{lang-en|Arthritis}}) เป็นกลุ่มของภาวะที่เกิดการทำลาย[[ข้อต่อ]]ของร่างกาย ข้ออักเสบมีได้มากกว่าร้อยรูปแบบ<ref>WebMd [http://www.webmd.com/osteoarthritis/guide/arthritis-basics Arthritis Basics]</ref> โดยรูปแบบที่พบมากที่สุดคือ[[ข้อเสื่อม]] (osteoarthritis) ซึ่งเกิดจากการบาดเจ็บของข้อต่อ การติดเชื้อของข้อและอายุ ส่วนข้ออักเสบรูปแบบอื่นเช่น[[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]] [[โรคข้อสะเก็ดเงิน]] จากภาวะ[[ภูมิต้านตนเอง]] [[ข้ออักเสบติดเชื้อ]] [[โรคเกาต์]]ซึ่งเกิดจากการสะสมของผลึก[[กรดยูริก]]ในข้อและทำให้เกิดการอักเสบ นอกจากนี้ยังมีการสะสมของผลึกแคลเซียมไพโรฟอสเฟตซึ่งเรียกว่า [[โรคเกาต์เทียม]]


== ประวัติและการตรวจร่างกาย ==
== ประวัติและการตรวจร่างกาย ==
โรคข้ออักเสบทั้งหมดจะมาด้วย[[อาการปวด]] ซึ่งรูปแบบการปวดจะแตกต่างกันตามชนิดของข้ออักเสบและตำแหน่ง [[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]]มักมีอาการปวดตอนเช้า ในระยะแรกผู้ป่วยมักบอกว่าอาการปวดหายไปหลังจากอาบน้ำตอนเช้า ในผู้สูงอายุหรือเด็กอาจไม่ได้มาด้วยอาการปวด เพราะผู้สูงอายุมักขยับร่างกายได้น้อย ส่วนในเด็กเล็กผู้ป่วยจะปฏิเสธที่จะใช้แขนขาข้างที่เป็น
โรคข้ออักเสบทั้งหมดจะมาด้วย[[อาการปวด]] ซึ่งรูปแบบการปวดจะแตกต่างกันตามชนิดของข้ออักเสบและตำแหน่ง [[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]]มักมีอาการปวดตอนเช้า ในระยะแรกผู้ป่วยมักบอกว่าอาการปวดหายไปหลังจากอาบน้ำตอนเช้า ในผู้สูงอายุหรือเด็กอาจไม่ได้มาด้วยอาการปวด เพราะผู้สูงอายุมักขยับร่างกายได้น้อย ส่วนในเด็กเล็กผู้ป่วยจะปฏิเสธที่จะใช้แขนขาข้างที่เป็น


ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยช่วยบอกการวินิจฉัยโรคได้ โดยลักษณะสำคัญคือเวลาและความเร็วขณะเกิดอาการ รูปแบบของข้อที่เกี่ยวข้อง ความสมมาตร อาการปวดข้อตอนเช้า ความรู้สึกข้อตึงยึดหรือล็อกเมื่อไม่ได้ทำกิจกรรม ปัจจัยที่กระตุ้นหรือทุเลาอาการ และอาการในระบบอื่นๆ การตรวจร่างกายจะช่วยยืนยันการวินิจฉัยหรืออาจบ่งถึงโรคทางกายอื่นที่ทำให้เกิดอาการที่ข้อ ภาพถ่ายรังสีมักใช้เพื่อติดตามอาการหรือประเมินความรุนแรงของโรค
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยช่วยบอกการวินิจฉัยโรคได้ โดยลักษณะสำคัญคือเวลาและความเร็วขณะเกิดอาการ รูปแบบของข้อที่เกี่ยวข้อง ความสมมาตร อาการปวดข้อตอนเช้า ความรู้สึกข้อตึงยึดหรือล็อกเมื่อไม่ได้ทำกิจกรรม ปัจจัยที่กระตุ้นหรือทุเลาอาการ และอาการในระบบอื่นๆ การตรวจร่างกายจะช่วยยืนยันการวินิจฉัยหรืออาจบ่งถึงโรคทางกายอื่นที่ทำให้เกิดอาการที่ข้อ ภาพถ่ายรังสีมักใช้เพื่อติดตามอาการหรือประเมินความรุนแรงของโรค


[[การตรวจเลือด]]และ[[เอกซเรย์]]ที่ข้อที่เป็นมักทำเพื่อให้ได้การวินิจฉัยแน่นอน การตรวจเลือดทำเมื่อสงสัยข้ออักเสบบางอย่าง อาทิ [[รูมาตอยด์ แฟกเตอร์]], [[แอนตินิวเคลียร์แฟกเตอร์]] (ANF) และ[[แอนติบอดี]]จำเพาะอื่น
[[การตรวจเลือด]]และ[[เอกซเรย์]]ที่ข้อที่เป็นมักทำเพื่อให้ได้การวินิจฉัยแน่นอน การตรวจเลือดทำเมื่อสงสัยข้ออักเสบบางอย่าง อาทิ [[รูมาตอยด์ แฟกเตอร์]], [[แอนตินิวเคลียร์แฟกเตอร์]] (ANF) และ[[แอนติบอดี]]จำเพาะอื่น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:49, 31 มกราคม 2556

ข้ออักเสบ
(Arthritis)
มือที่มีข้ออักเสบ
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10M00-M25
ICD-9710-719
DiseasesDB15237
MedlinePlus001243
eMedicinetopic list
MeSHD001168

ข้ออักเสบ (อังกฤษ: Arthritis) เป็นกลุ่มของภาวะที่เกิดการทำลายข้อต่อของร่างกาย ข้ออักเสบมีได้มากกว่าร้อยรูปแบบ[1] โดยรูปแบบที่พบมากที่สุดคือข้อเสื่อม (osteoarthritis) ซึ่งเกิดจากการบาดเจ็บของข้อต่อ การติดเชื้อของข้อและอายุ ส่วนข้ออักเสบรูปแบบอื่นเช่นข้ออักเสบรูมาตอยด์ โรคข้อสะเก็ดเงิน จากภาวะภูมิต้านตนเอง ข้ออักเสบติดเชื้อ โรคเกาต์ซึ่งเกิดจากการสะสมของผลึกกรดยูริกในข้อและทำให้เกิดการอักเสบ นอกจากนี้ยังมีการสะสมของผลึกแคลเซียมไพโรฟอสเฟตซึ่งเรียกว่า โรคเกาต์เทียม

ประวัติและการตรวจร่างกาย

โรคข้ออักเสบทั้งหมดจะมาด้วยอาการปวด ซึ่งรูปแบบการปวดจะแตกต่างกันตามชนิดของข้ออักเสบและตำแหน่ง ข้ออักเสบรูมาตอยด์มักมีอาการปวดตอนเช้า ในระยะแรกผู้ป่วยมักบอกว่าอาการปวดหายไปหลังจากอาบน้ำตอนเช้า ในผู้สูงอายุหรือเด็กอาจไม่ได้มาด้วยอาการปวด เพราะผู้สูงอายุมักขยับร่างกายได้น้อย ส่วนในเด็กเล็กผู้ป่วยจะปฏิเสธที่จะใช้แขนขาข้างที่เป็น

ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยช่วยบอกการวินิจฉัยโรคได้ โดยลักษณะสำคัญคือเวลาและความเร็วขณะเกิดอาการ รูปแบบของข้อที่เกี่ยวข้อง ความสมมาตร อาการปวดข้อตอนเช้า ความรู้สึกข้อตึงยึดหรือล็อกเมื่อไม่ได้ทำกิจกรรม ปัจจัยที่กระตุ้นหรือทุเลาอาการ และอาการในระบบอื่นๆ การตรวจร่างกายจะช่วยยืนยันการวินิจฉัยหรืออาจบ่งถึงโรคทางกายอื่นที่ทำให้เกิดอาการที่ข้อ ภาพถ่ายรังสีมักใช้เพื่อติดตามอาการหรือประเมินความรุนแรงของโรค

การตรวจเลือดและเอกซเรย์ที่ข้อที่เป็นมักทำเพื่อให้ได้การวินิจฉัยแน่นอน การตรวจเลือดทำเมื่อสงสัยข้ออักเสบบางอย่าง อาทิ รูมาตอยด์ แฟกเตอร์, แอนตินิวเคลียร์แฟกเตอร์ (ANF) และแอนติบอดีจำเพาะอื่น

ชนิดของข้ออักเสบ

การรักษา

วิธีการรักษาแตกต่างกันออกไปตามชนิดของข้ออักเสบ ได้แก่ กายภาพบำบัด การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เช่น การออกกำลังกายและการควบคุมน้ำหนัก การใช้อุปกรณ์พยุง ยา และอาหารเสริม การผ่าตัดเปลี่ยนข้อมักทำในข้ออักเสบที่มีการสึกกร่อน

โดยทั่วไปแล้วมีการศึกษาแสดงว่าการออกกำลังกายที่ข้อต่อที่เป็นสามารถทำให้อาการปวดทุเลาอย่างมากในระยะยาว นอกจากนี้การออกกำลังกายที่ข้อที่อักเสบช่วยรักษาข้อต่อรวมทั้งสุขภาพโดยรวมของบุคคลนั้น[2]

อ้างอิง

  1. WebMd Arthritis Basics
  2. Ettinger Wh, Jr; Burns, R; Messier, SP; Applegate, W; Rejeski, WJ; Morgan, T; Shumaker, S; Berry, MJ et al. (1997). "A randomized trial comparing aerobic exercise and resistance exercise with a health education program in older adults with knee osteoarthritis. The Fitness Arthritis and Seniors Trial (FAST)". JAMA : the journal of the American Medical Association 277 (1) : 25–31. doi:10.1001/jama.277.1.25. PMID 8980206