ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จริตนิยม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: et:Manerism
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: fa:رفتارگرایی; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
“แมนเนอริสม์” มาจาก[[ภาษาอิตาลี]] “maniera” หรือ “style” ซึ่งตรงกับความหมายที่ว่าเป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปินที่ทำให้ทราบได้ว่าเป็นของใคร แมนเนอริสม์เป็นศิลปะของการ “ทำขึ้น” ซึ่งตรงกันข้ามกับศิลปะเรอเนซองส์ หรือ บาโรคที่เป็นศิลปะที่เลียนแบบธรรมชาติ การบรรยายลักษณะแมนเนอริสม์เป็นสิ่งที่ไม่ง่ายนัก คำนี้ใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อจัดกลุ่มศิลปะที่จัดไม่ได้มาก่อนของศิลปะอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ขาดความกลมกลืนและการวาดอย่างมีกฏเกณฑ์ที่เรารู้จักกันในศิลปะเรอเนซองส์ และเป็นคำที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามแต่จะเป็นศิลปินผู้ใดและเป็นลักษณะศิลปะชนิดใด
“แมนเนอริสม์” มาจาก[[ภาษาอิตาลี]] “maniera” หรือ “style” ซึ่งตรงกับความหมายที่ว่าเป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปินที่ทำให้ทราบได้ว่าเป็นของใคร แมนเนอริสม์เป็นศิลปะของการ “ทำขึ้น” ซึ่งตรงกันข้ามกับศิลปะเรอเนซองส์ หรือ บาโรคที่เป็นศิลปะที่เลียนแบบธรรมชาติ การบรรยายลักษณะแมนเนอริสม์เป็นสิ่งที่ไม่ง่ายนัก คำนี้ใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อจัดกลุ่มศิลปะที่จัดไม่ได้มาก่อนของศิลปะอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ขาดความกลมกลืนและการวาดอย่างมีกฏเกณฑ์ที่เรารู้จักกันในศิลปะเรอเนซองส์ และเป็นคำที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามแต่จะเป็นศิลปินผู้ใดและเป็นลักษณะศิลปะชนิดใด


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศิลปะเรอเนซองส์]]
* [[ศิลปะเรอเนซองส์]]
* [[ศิลปะตะวันตก]]
* [[ศิลปะตะวันตก]]
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
{{commonscat|Mannerism|ลัทธิแมนเนอริสม์}}
{{commonscat|Mannerism|ลัทธิแมนเนอริสม์}}


==สมุดภาพ==
== สมุดภาพ ==
<center>
<center>
<gallery perrow="5">
<gallery perrow="5">
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
ภาพ:Ratusz9 zam.JPG|ตึกเทศบาลเมือง Zamość ใน[[ประเทศโปแลนด์]] โดย [[เบอร์นาร์โด โมรานโด]] (Bernardo Morando)
ภาพ:Ratusz9 zam.JPG|ตึกเทศบาลเมือง Zamość ใน[[ประเทศโปแลนด์]] โดย [[เบอร์นาร์โด โมรานโด]] (Bernardo Morando)
</gallery>
</gallery>
{{ศิลปะตะวันตก}}

{{โครงศิลปะ}}


[[หมวดหมู่:จิตรกรรม|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรม|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
บรรทัด 33: บรรทัด 34:
[[หมวดหมู่:ปรัชญาศิลปะ|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญาศิลปะ|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะสมัยใหม่|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะสมัยใหม่|ลัทธิแมนเนอริสม์]]
{{ศิลปะตะวันตก}}
{{โครงศิลปะ}}


[[als:Manierismus]]
[[als:Manierismus]]
บรรทัด 50: บรรทัด 49:
[[es:Manierismo]]
[[es:Manierismo]]
[[et:Manerism]]
[[et:Manerism]]
[[fa:منریسم]]
[[fa:رفتارگرایی]]
[[fi:Manierismi]]
[[fi:Manierismi]]
[[fr:Maniérisme]]
[[fr:Maniérisme]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:52, 13 ตุลาคม 2553

ในภาพเขียน “พระแม่มารีศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดย พาร์มิจานิโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนียภาพไม่กระจ่างแจ้ง

ลัทธิแมนเนอริสม์ (ภาษาอังกฤษ: Mannerism) คือสมัยของศิลปะของจิตรกรรม, ประติมากรรม, สถาปัตยกรรม และ การตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ ศิลปะเรอเนซองส์สมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี ค.ศ. 1520 จนกระทั่งจดสมัย บาโรก ราวปี ค.ศ. 1600

ลักษณะของลัทธิแมนเนอริสม์ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลซึ่งมีอิทธิพลจากหรือมีปฏิกิริยาต่อความกลมกลืนทางอุดมคติที่เกี่ยวข้องกับงานของ เลโอนาร์โด ดา วินชี, ราฟาเอล และงานสมัยแรกๆ ของไมเคิล แอนเจโล แมนเนอริสม์เป็นทั้งศิลปะทางความคิดและความสร้างสรรค์แทนที่จะเป็นธรรมชาติ คำว่าแมนเนอริสม์ใช้สำหรับจิตรกรกอธิคสมัยหลังที่ทำงานทางตอนเหนือของยุโรปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1530 โดยเฉพาะในบริเวณอันทเวิรพในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน และงานวรรณกรรมสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยเฉพาะโคลงกลอน

ที่มา

“แมนเนอริสม์” มาจากภาษาอิตาลี “maniera” หรือ “style” ซึ่งตรงกับความหมายที่ว่าเป็นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปินที่ทำให้ทราบได้ว่าเป็นของใคร แมนเนอริสม์เป็นศิลปะของการ “ทำขึ้น” ซึ่งตรงกันข้ามกับศิลปะเรอเนซองส์ หรือ บาโรคที่เป็นศิลปะที่เลียนแบบธรรมชาติ การบรรยายลักษณะแมนเนอริสม์เป็นสิ่งที่ไม่ง่ายนัก คำนี้ใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวเยอรมันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพื่อจัดกลุ่มศิลปะที่จัดไม่ได้มาก่อนของศิลปะอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่ขาดความกลมกลืนและการวาดอย่างมีกฏเกณฑ์ที่เรารู้จักกันในศิลปะเรอเนซองส์ และเป็นคำที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามแต่จะเป็นศิลปินผู้ใดและเป็นลักษณะศิลปะชนิดใด

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

สมุดภาพ