ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิธีสารเกียวโต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 84: บรรทัด 84:
| quote=Such a level should be achieved within a time-frame sufficient to allow ecosystems to adapt naturally to climate change, to ensure that food production is not threatened and to enable economic development to proceed in a sustainable manner
| quote=Such a level should be achieved within a time-frame sufficient to allow ecosystems to adapt naturally to climate change, to ensure that food production is not threatened and to enable economic development to proceed in a sustainable manner
|url=http://unfccc.int/essential_background/convention/background/items/1353.php | accessdate=15 November 2005 }}</ref>
|url=http://unfccc.int/essential_background/convention/background/items/1353.php | accessdate=15 November 2005 }}</ref>

พิธีสารเกียวโตมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2540 ใน[[เกียวโต]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] และมามีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 จนถึงเดือนกันยายน 2554 มี 191 รัฐลงนามและให้สัตยาบันพิธีสารฯ<ref name = "Ratification of Kyoto">{{cite web | title=Status of Ratification of the Kyoto Protocol| url=http://unfccc.int/kyoto_protocol/status_of_ratification/items/2613.php | accessdate=15 August 2011 | publisher=[[United Nations Framework Convention on Climate Change]]}}</ref> สหรัฐอเมริกาลงนามแต่มิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ และแคนาดาถอนตัวจากพิธีสารฯ ในปี 2554<ref name="Canada withdrawal" /> รัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นซึ่งมิได้ให้สัตยาบันพิธีสารฯ ได้แก่ [[อัฟกานิสถาน]] [[อันดอร์รา]]และ[[เซาท์ซูดาน]]

ภายใต้พิธีสารฯ 37 [[ประเทศอุตสาหกรรม]]<ref>
{{citation
| title=Kyoto Protocol
| author=UNFCCC
| url=http://unfccc.int/kyoto_protocol/items/3145.php
| publisher=UNFCCC
}}
</ref> และ[[ประชาคมยุโรป]]ในขณะนั้น<ref name="2011 unfccc kyoto protocol overview">
{{citation
| year=2011
| author=United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC)
| title=Kyoto Protocol
| publisher=UNFCCC
| url=http://unfccc.int/kyoto_protocol/items/2830.php
}}
</ref> ("ภาคีภาคผนวกที่ 1") ผูกมัดตนเองให้จำกัดหรือลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสี่ชนิด ([[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[มีเทน]] [[ไนตรัสออกไซด์]]และ[[ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์]]) และแก๊สสองกลุ่ม ([[ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน]]และ[[เพอร์ฟลูออโรคาร์บอน]])<ref name="grubb kyoto gases">
{{harvnb|Grubb|2003|p=147}}
</ref> รัฐสมาชิกทุกรัฐให้พันธกรณีทั่วไป<ref name="grubb commitments">
{{harvnb|Grubb|Depledge|2001|p=269}}
</ref> การจำกัดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกนี้ไม่รวมการปล่อยจากการบินและการเดินเรือระหว่างประเทศ<ref name="shippingandaviation">
{{citation
| author=Adam, David
| title=UK to seek pact on shipping and aviation pollution at climate talks
| work=The Guardian
| date=2 December 2007
| url=http://www.guardian.co.uk/environment/2007/dec/03/climatechange.greenpolitics
}}
</ref>

ที่การเจรจา ประเทศภาคผนวกที่ 1 ตกลงร่วมกันจะลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.2 ในระยะปี 2551-2555 เป็นสัดส่วนกับการปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่อปีในปีฐาน ซึ่งโดยปกติใช้ปี 2533 เนื่องจากสหรัฐอเมริกามิได้ให้สัตยาบันในสนธิสัญญา การปล่อยแก๊สเรือนกระจกร่วมกันของประเทศภาคผนวกที่ 1 พิธีสารเกียวโตลดลงจากต่ำกว่าปีฐานร้อยละ 5.2 เหลือร้อยละ 4.2<ref name="Long term trend in global CO2 emissions">
{{citation
|title=Long-term trend in global {{chem|CO|2}} emissions; 2011 report
|date=21 September 2011
|author=Olivier, J.G.J., ''et al.''
|url=http://www.pbl.nl/sites/default/files/cms/publicaties/C02%20Mondiaal_%20webdef_19sept.pdf
|format=PDF
|publisher=PBL Netherlands Environmental Assessment Agency; Institute for Environment and Sustainability (IES) of the European Commission’s Joint Research Centre (JRC)
|location=The Hague, Netherlands
|isbn=978-90-78645-68-9
}} PBL publication number 500253004. JRC Technical Note number JRC65918.</ref>{{Rp|26|date=November 2012}}

ระดับการปล่อยในปี 2533 มาตรฐานที่รับรองโดยการประชุมภาคี UNFCCC (decision 2/CP.3) คือค่าของ "[[ศักยภาพโลกร้อน]]" (global warming potential) ซึ่งคำนวณแก่รายงานการประเมินฉบับที่สองของ IPCC<ref>{{cite web |title=Methodological issues related to the Kyoto protocol |url=http://unfccc.int/resource/docs/cop3/07a01.pdf#page=31 |date=25 March 1998 |accessdate=13 February 2010 |publisher=Report of the Conference of the Parties on its third session, held at Kyoto from 1 to 11 December 1997, United Nations Framework Convention on Climate Change}}</ref> ตัวเลขเหล่านี้ถูกใช้เพื่อเปลี่ยนการปล่อยแก๊สเรือนกระจกหลายชนิดเป็นค่า[[สมมูลคาร์บอนไดออกไซด์]]ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้เมื่อคำนวณจากแหล่งและแหล่งกักเก็บ (sink) ทั้งหมด

พิธีสารฯ อนุญาตให้มี "[[กลไกยืดหยุ่น]]" หลายข้อ เช่น [[การค้าขายแลกเปลี่ยนก๊าซเรือนกระจก]] [[กลไกการพัฒนาที่สะอาด]] และ[[การดำเนินการร่วมกัน]]เพื่อให้ประเทศภาคผนวกที่ 1 สามารถรักษาการจำกัดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกโดยการซื้อเครดิตลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากที่อื่น ผ่านการแลกเปลี่ยนทางการเงิน โครงการซึ่งลดการปล่อยในประเทศนอกภาคผนวกที่ 1 จากประเทศอื่นในภาคผนวกที่ 1 หรือจากประเทศภาคผนวกที่ 1 ซึ่งมีเงินช่วยเหลือเกิน

ประเทศภาคผนวกที่ 1 แต่ละประเทศถูกกำหนดให้ต้องส่งรายงานประจำปีแสดงบัญชีการปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากน้ำมือมนุษย์จากแหล่งต่าง ๆ และการนำออกจากแหล่งกักเก็บภายใต้ UNFCCC และพิธีสารเกียวโต ประเทศเหล่านี้เสนอชื่อบุคคลเพื่อสร้างและจัดการบัญชีแก๊สเรือนกระจกของประเทศนั้น ๆ เรียกว่า "หน่วยงานผู้มีอำนาจของรัฐ" (designated national authority) แทบทุกประเทศนอกภาคผนวกที่ 1 ยังได้ตั้งหน่วยงานผู้มีอนำาจของรัฐเพื่อจัดการข้อผูกมัดตามพิธีสารเกียวโตด้วย หรือโดยเฉพาะ "ขบวนการกลไกพัฒนาที่สะอาด" ซึ่งกำหนดว่าโครงการแก๊สเรือนกระจกใดที่ต้องการเสนอเพื่อให้ได้รับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาด

ที่การประชุมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่โดฮาในปี 2555 ภาคีพิธีสารเกียวโต<ref name="figueres doha summary"/> ตกลงระยะผูกมัดการลดการปล่อยที่สองตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2563 ซึ่งเกิดขึ้นในรูปของการแก้ไขพิธีสารฯ<ref name="ritter 2012 doha talks">
{{cite web
|author=Ritter, K. and M. Casey
|title=UN conference adopts extension of Kyoto accord
|url=http://www.ctpost.com/news/science/article/UN-conference-adopts-extension-of-Kyoto-accord-4101451.php
|publisher=CTPost
|accessdate=8 December 2012
}}
</ref><ref name="harrabin 2012 doha talks">
{{citation
| author=Harrabin, R.
| title=UN climate talks extend Kyoto Protocol, promise compensation
| work=BBC News
| date=8 December 2012
| url=http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-20653018
}}
</ref><ref name="harvey 2012 doha talks">
{{citation
| author=Harvey, F.
| title=Doha climate change deal clears way for 'damage aid' to poor nations
| work=The Observer
| location=London, UK
| date=8 December 2012
| url=http://www.guardian.co.uk/environment/2012/dec/08/doha-climate-change-deal-nations
}}
</ref> 37 ประเทศซึ่งมีเป้าหมายผูกพันในระยะผูกมัดที่สอง ได้แก่ ออสเตรเลีย รัฐสมาชิก[[สหภาพยุโรป]]ทุกรัฐ เบลารุส โครเอเชีย ไอซ์แลนด์ คาซัคสถาน นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์และยูเครน<ref name="figueres doha summary">
{{citation
| author=Figueres, C.
| title=Environmental issues: Time to abandon blame-games and become proactive - Economic Times
| work=The Economic Times / Indiatimes.com
| publisher=Times Internet
| url=http://articles.economictimes.indiatimes.com/2012-12-15/news/35836633_1_emission-reduction-targets-global-greenhouse-gas-emissions-climate-change
| date=15 December 2012
| accessdate=2012-12-18
}}
</ref> เมื่อรวมกันแล้ว ประเทศเหล่านี้จะลดการปล่อยร้อยละ 18 เมื่อเทียบกับระดับเมื่อปี 2533 ระหว่างปี 2556-2563<ref name="figueres doha summary"/> เป้าหมายอาจปรับเพิ่มขึ้นในปี 2557<ref name="figueres doha summary"/><ref name="unfccc 2012 kyoto extension">
{{citation
| author=UNFCCC. Conference of the Parties serving as the meeting of the Parties to the Kyoto Protocol (CMP)
| title=Outcome of the work of the Ad Hoc Working Group on Further Commitments for Annex I Parties under the Kyoto Protocol. Draft decision proposed by the President (EN). Notes: Agenda item 4: Report of the Ad Hoc Working Group on Further Commitments for Annex I Parties under the Kyoto Protocol. Meeting: Conference of the Parties serving as the meeting of the Parties to the Kyoto Protocol (CMP), Eighth session, 26 November - 7 December 2012, Doha, Qatar. FCCC/KP/CMP/2012/L.9
| publisher=United Nations Office
| location= Geneva, Switzerland
| date=8 December 2012
| url=http://unfccc.int/resource/docs/2012/cmp8/eng/l09.pdf
}}, pp.6-7. Other languages [http://unfccc.int/documentation/documents/advanced_search/items/6911.php?priref=600007290 available.]
</ref> เป้าหมายการปล่อยที่ระบุไว้ในระยะผูกมัดที่สองจะมีผลต่อการปล่อยแก๊สเรือนกระจกของโลกราวร้อยละ 15<ref>{{cite web|url=http://www.huffingtonpost.com/2012/12/08/un-climate-conference-kyoto-doha-qatar_n_2262371.html|title=UN Climate Conference: Kyoto Protocol Extended At Doha, Qatar Talks|work=Huffington Post|accessdate=25 December 2012|date=8 December 2012|author=K Ritter and M Caset}}</ref><ref name="harrabin 2012 doha talks"/> ภาคีภาคผนวกที่ 1 หลายรัฐซึ่งเข้าร่วมในพิธีสารเกียวโตรอบแรกมิได้รับเป้าหมายใหม่ในระยะผูกมัดที่สอง ได้แก่ ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และรัสเซีย ภาคีภาคผนวกที่ 1 อื่นซึ่งไม่มีเป้าหมายรอบสอง ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (ซึ่งไม่เคยเป็นสมาชิกของพิธีสารฯ) และแคนาดา (ซึ่งถอนตัวจากพิธีสารเกียวโต มีผลบังคับปี 2555)<ref name="RussiaUkraineBellarusOppose">
{{cite web
|author=Alister Doyle and Barbara Lewis
|title=UPDATE 3-Doha climate talks throw lifeline to Kyoto Protocol
|url=http://www.reuters.com/article/2012/12/08/climate-talks-idUSL5E8N83DI20121208
|publisher=Reuters
|accessdate=12 December 2012
}}
</ref><ref name="unfccc 2012 kyoto extension"/>


== เป้าหมาย ==
== เป้าหมาย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:05, 20 ตุลาคม 2563

พิธีสารเกียวโต
พิธีสารเกียวโตต่อท้ายอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ดูคำอธิบายใต้ภาพ
แผนที่การมีส่วนร่วมพิธีสารเกียวโต
(ระยะผูกมัด: 2556-2563)
  ภาคี ประเทศภาคผนวกที่ 1 และ 2 โดยมีเป้าหมายผูกพัน
  ภาคี ประเทศกำลังพัฒนาโดยไม่มีเป้าหมายผูกพัน*
  รัฐที่มิใช่ภาคีสนธิสัญญา
  ประเทศที่ลงนามโดยไม่มีเจตนาให้สัตยาบันสนธิสัญญา โดยไม่มีเป้าหมายผูกพัน[1]
  ประเทศที่สละพิธีสารฯ โดยไม่มีเป้าหมายผูกพัน*[2]
  ภาคีซึ่งไม่มีเป้าหมายผูกพันในระยะที่สอง ซึ่งอดีตเคยมีเป้าหมาย*[3]
*หมายเหตุ: ในความตกลงกังกุน 2553 ประเทศพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา 76 ประเทศได้ทำข้อผูกมัดโดยสมัครใจควบคุมการปล่อยแก๊สเรือนกระจกของตน[4][5]
วันลงนาม11 ธันวาคม 2540
ที่ลงนามเกียวโต
วันมีผล16 กุมภาพันธ์ 2548
เงื่อนไข55 รัฐให้สัตยาบันต่ออนุสัญญา, รวมทั้งรัฐที่รวมอยู่ในภาคผนวกที่ 1 ซึ่งเป็นเหตุอย่างน้อยร้อยละ 55 ของการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์รวมในปี 2533 ของภาคีที่รวมอยู่ในภาคผนวกที่ 1
ผู้ลงนาม83
ผู้ให้สัตยาบัน191
ผู้เก็บรักษาเลขาธิการสหประชาชาติ
ภาษาอาหรับ, จีน, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซียและสเปน
การต่ออายุพิธีสารเกียวโต
(2555 - 2563)
การแก้ไขพิธีสารเกียวโตตามข้อ 3 วรรค 9
วันร่าง8 ธันวาคม 2555
ที่ลงนามโดฮา กาตาร์
วันมีผลยังไม่มีผลใช้บังคับ
เงื่อนไขรัฐสมาชิก 3/4 ต้องให้สัตยาบัน
ผู้ให้สัตยาบันไม่มี

พิธีสารเกียวโต (อังกฤษ: Kyoto Protocol) ต่อท้ายอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) กำหนดพันธกรณีผูกพันต่อประเทศอุตสาหกรรมให้ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก UNFCCC เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งมีเป้าหมายเพื่อบรรลุ "เสถียรภาพความเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศที่ระดับซึ่งจะป้องกันการรบกวนอันตรายจากน้ำมือมนุษย์กับระบบภูมิอากาศ"[6]

เป้าหมาย

กลุ่มประเทศอุตสาหกรรม (ตามภาคผนวก 1) ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ ก๊าซในกลุ่มไฮโดรฟลูโอโรคาร์บอน (HFCs) และเปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs) ในปี พ.ศ. 2553 ลง 5.2% เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2533..

กลไกตามพิธีสารเกียวโต

พิธีสารเกียวโตมี 3 กลไกที่มุ่งจะช่วยให้ประเทศพัฒนาแล้วบรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ได้แก่

ประเทศในภาคผนวก 1

ประเทศในภาคผนวก 1 คือ กลุ่มประเทศอุตสาหกรรม เช่น สหภาพยุโรป แคนาดา รัสเซีย ญี่ปุ่นเป็นต้น ประเทศในภาคผนวก 1 ส่วนใหญ่ให้สัตยาบันแล้ว แต่ยังคงมีประเทศที่ลงนามในสัญญาแต่ยังไม่มีการให้สัตยาบัน คือสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ทำให้เป็นที่วิตกกังวลกันว่าการดำเนินการจะไม่ได้ผลเนื่องจากประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดอย่างสหรัฐอเมริกานั้น ยังไม่มีทีท่าว่าสภาคองเกรสจะให้สัตยาบัน โดยให้เหตุผลว่าจะกระทบอุตสาหกรรมของประเทศ

พิธีสารเกียวโตกับประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศนอกภาคผนวก 1 ซึ่งไม่มีผลบังคับประเทศไทยซึ่งได้ให้สัตยาบันต่อพิธีสารเกียวโตแล้วเมื่อ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2545เป็นเรื่องของกลไกการพัฒนาที่สะอาดซึ่งเราสามารถเลือกร่วมโครงการได้ตามความสมัครใจ โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานหลักแห่งชาติ (National Focal Point) ของอนุสัญญาและพิธีสาร

อ้างอิง

  1. United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC) (2011), Kyoto Protocol, UNFCCC, สืบค้นเมื่อ 9 December 2011
  2. StarTribune - Canada formally pulls out of Kyoto Protocol on climate change Retrieved 4 May 2012.
  3. United Nations- Doha Climate Gateway CMP8 Decisions Retrieved 9 Dec 2012.
  4. King, D.; และคณะ (July 2011), "Copenhagen and Cancun", International climate change negotiations: Key lessons and next steps, Oxford, UK: Smith School of Enterprise and the Environment, University of Oxford, p. 12, doi:10.4210/ssee.pbs.2011.0003 {{citation}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help) PDF version is also available
  5. United Nations Environment Programme (UNEP) (November 2012), The Emissions Gap Report 2012 (PDF), Nairobi, Kenya: UNEP, pp. 14–18 Executive summary in other languages
  6. "Article 2". The United Nations Framework Convention on Climate Change. สืบค้นเมื่อ 15 November 2005. Such a level should be achieved within a time-frame sufficient to allow ecosystems to adapt naturally to climate change, to ensure that food production is not threatened and to enable economic development to proceed in a sustainable manner

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น