พงศาวลีของมุฮัมมัด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือพงศาวลีของศาสดามุฮัมมัด หรือเป็นที่รู้จักในสมาชิกทางครอบครัวของบนูฮาชิมและเผ่ากุเรช ซึ่งเป็นชาวอัดนาน.[1][2][3][4]

พงศาวลี[แก้]


กิลาบ อิบน์ มุรเราะฮ์ฟาฏิมะฮ์ บินต์ ซะอัด
ซุฮเราะฮ์ อิบน์ กิลาบ
(บรรพบุรุษของบนูซุฮเราะฮ์)
พ่อของทวดทางฝ่ายแม่
กุซ็อย อิบน์ กิลาบ
ปู่ของทวดทางฝ่ายพ่อ
ฮุบบะฮ์ บินต์ ฮุลัยล์
ย่าของทวดทางฝ่ายพ่อ
อับดุลมะนาฟ อิบน์ ซุฮเราะฮ์
ทวดทางฝ่ายแม่
อับดุลมะนาฟ อิบน์ กุซ็อย
พ่อของทวดฝ่ายพ่อ
อาติกะฮ์ บินต์ มุรเราะฮ์
แม่ของทวดฝ่ายพ่อ
วะฮับ อิบน์ อับดุลมะนาฟ
ปู่ทางฝ่ายแม่
ฮาชิม อิบน์ อับดุลมะนาฟ
(บรรพบุรุษของบนูอาชิม)
ทวดทางฝ่ายพ่อ
ซัลมา บินต์ อัมร์
ทวดทางฝ่ายพ่อ
ฟาฏิมะฮ์ บินต์ อัมร์
ย่าทางฝ่ายพ่อ
อับดุลมุฏฏอลิบ
ปู่ทางฝ่ายพ่อ
ฮาละฮ์ บินต์ วุฮัยบ์
ย่าของพ่อเลี้ยงทางฝ่ายพ่อ
อามินะฮ์
แม่
อับดุลเลาะฮ์ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ
พ่อ
อัซซุบัยร์ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ
ลุงทางฝ่ายพ่อ
ฮาริษ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ
ลุงต่างพ่อแม่ทางฝ่ายพ่อ
ฮัมซะฮ์ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ
ลุงต่างพ่อแม่ทางฝ่ายพ่อ
ษุวัยบะฮ์
แม่นมคนแรก
ฮะลีมะฮ์ บินต์ อะบีซุอัยบ์
แม่นมคนที่สอง
อบูฏอลิบ อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ
ลุงทางฝ่ายพ่อ
อับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ
ลุงต่างพ่อแม่ทางฝ่ายพ่อ
อบูละฮับ
ลุงต่างพ่อแม่ทางฝ่ายพ่อ
ลูกชาย 6 คน และลูกสาว 6 คน
มุฮัมมัดเคาะดีญะฮ์ บินต์ คุวัยลิด
ภรรยาคนแรก
อับดุลลอฮ์ อิบน์ อับบาส
ลูกพี่ลูกน้องทางฝ่ายพ่อ
ฟาฏิมะฮ์
ลูกสาว
อะลี
ลูกพี่ลูกน้องทางฝ่ายพ่อ และลูกเขย
พงศาวลี, ลูกหลาน
กอซิม อิบน์ มุฮัมมัด
ลูกชาย
อับดุลเลาะฮ์ อิบน์ มุฮัมมัด
ลูกชาย
ซัยนับ บินต์ มุฮัมมัด
ลูกสาว
รุก็อยยะฮ์ บินต์ มุฮัมมัด
ลูกสาว
อุษมาน
ลูกพี่ลูกน้องคนที่สองและลูกเขย
พงศาวลี
อุมมุกัลษูม บินต์ มุฮัมมัด
ลูกสาว
ซัยด์ อิบน์ ฮาริษะฮ์
บุตรบุญธรรม
อะลี อิบน์ ซัยนับ
หลานชาย
อุมามะฮ์ บินต์ ซัยนับ
หลานสาว
อับดุลเลาะฮ์ อิบน์ อุษมาน
หลานชาย
ร็อยฮานะฮ์ บินต์ ซัยด์
หลานสาว
อุซามะฮ์ อิบน์ ซัยด์
ลูกของบุตรบุญธรรม
มุฮซิน อิบน์ อะลี
หลานชาย
ฮะซัน อิบน์ อะลี
หลานชาย
ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี
หลานชาย
พงศาวลี
อุมมุกัลษุม บินต์ อะลี
หลานสาว
ซัยนับ บินต์ อะลี
หลานสาว
เซาะฟียะฮ์ บินต์ ฮุยัยย์
ภรรยาคนที่สิบ
อะบูบักร์
พ่อตา
พงศาวลี
เซาดะฮ์ บินต์ ซัมอะฮ์
ภรรยาคนที่สาม
อุมัร
พ่อตา
พงศาวลี
อุมมุซะละมะฮ์
ภรรยาคนที่หก
ญุวัยริยยะฮ์ บินต์ อัลฮาริษ
ภรรยาคนที่แปด
มัยมูนะฮ์ บินต์ อัลฮาริษ
ภรรยาคนที่สิบเอ็ด
อาอิชะฮ์
ภรรยาคนที่สาม
พงศาวลี
{{{ZbK}}}ฮัฟเซาะฮ์ บินต์ อุมัร
ภรรยาคนที่สี่
ซัยนับ บินต์ ญะฮช์
ภรรยาคนที่เจ็ด
ร็อมละฮ์ บินต์ อบีซุฟยาน
ภรรยาคนที่เก้า
มาเรีย อัลกิบติยยะฮ์
ภรรยาคนที่สิบสอง
อิบรอฮีม อิบน์ มุฮัมมัด
ลูกชาย
  • * ลำดับการแต่งงานยังเป็นที่โต้แย้ง
  • สายเลือดโดยตรงถูกเน้นเป็นสีเข้ม.

ลำดับวงศ์ตระกูล[แก้]

มุฮัมมัดถึงอัดนาน[แก้]

รายงานจากฮะดีษว่า มุฮัมมัดสืบเชื้อสายมาจากอัดนาน และมีธรรมเนียมในลำดับวงศ์ตระกูลว่าจากอัดนานถึงมุฮัมมัดนั้นมีถึง 21 รุ่น "รายชื่อนี้คือหัวหน้าผู้ปกครองแคว้นฮิญาซ และเป็นบรรพบุรุษทางฝ่ายพ่อของมุฮัมมัด"[4]

บรรพบุรุษของมุฮัมมัดถึงมุรเราะฮ์
บรรพบุรุษของมุฮัมมัดถึงมุรเราะฮ์

อัดนานถึงอิสมาอิล[แก้]

มีหลายรายงานได้กล่าวว่า อัดนานเป็นบรรพบุรุษของชาวอาหรับอัดนานที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ, กลาง และตะวันตกของอาระเบีย และเขาเป็นลูกหลานที่สืบมาจากอิสมาอิลโดยตรง. แต่จนถึงตอนนี้ ยังไม่แน่ใจมีกี่รุ่นที่อยู่ระหว่างนี้ แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อมูลว่าอิสมาอิลมีลูกชาย 12 คน ซึ่งถูกกล่าวว่าพวกเขากลายเป็นหัวหน้าเผ่าทั้ง 12 ที่อาศัยอยู่ตั้งแต่ฮาวิละฮ์ถึงชูร์ (จากอัสซีเรียถึงชายแดนของประเทศอียิปต์).

ผู้สอบสายวงศ์ตระกูลได้สัณนิษฐานว่า อัดนานอาจจะสิบเชื้อสายมาจากนาบุต ลูกชายคนแรกของอิสมาอิล หรือเกดาร์ ลูกชายคนที่สองของเขา ผู้เป็นบิดาของเผ่าเกดาไรต์ที่ครอบครองบริเวณที่อยู่ระหว่างอ่าวเปอร์เซียกับคาบสมุทรไซนาย.

มุฮัมมัด อิบน์ ญะรีร อัฏเฏาะบะรีได้กล่าวว่า:

"ผู้สอบสายวงศ์ตระกูลไม่มั่นใจว่า บรรพบุรุษของมุฮัมมัดที่นับไปไกลที่สุดนั้นคือ มะอัด บิน อัดนาน"

— The History of al-Tabari, Volume 6, p. 37


อิบรอฮีมถึงนูฮ[แก้]

รายง่านจากอับดุลเลาะฮ์ อิบน์ อับบาสว่า ศาสดามุฮัมมัดได้กล่าวว่า;

"ลูกหลานของอิมรอนถูกตรัสโดยอัลลอฮ์ว่า ‘แท้จริงอัลลอฮ์ได้ทรงคัดเลือก อาดัมและนูห์ และวงศ์วานของอิบรอฮีม และวงศ์วานของอิมรอนให้เหนือกว่าประชาชาติทั้งหลาย' [อัลกุรอาน 03:33] นั้น คือผู้ศรัทธาจากลูกหลานของอิบรอฮีม, อิมรอน, ยาซีน และมุฮัมมัด"

— บันทึกโดยอัลบุคอรี.

"(ขอสาบานด้วยพระนามของอัลลอฮฺ) โดยแน่นอนเราได้ส่งนูหฺและอิบรอฮีม และเราได้ทำให้ลูกหลานของเขาทั้งสองเป็นนะบี และเราได้ประทานคัมภีร์ (อัตเตารอฮฺ อัซซะบูร อัลอินญีล และอัลกุรอาน) ดังนั้นบางคนในหมู่พวกเขาก็เป็นผู้อยู่ในแนวทางที่ถูกต้อง และส่วนมากในหมู่พวกเขาก็เป็นผู้ฝ่าฝืนหลงทาง"

— อัลกุรอาน ซูเราะฮ์ที่ 57 (อัลฮะดีด), อายะฮ์ที่ 26.

ตอนนี้ยังไม่เป็นที่ประจักษ์ว่าระหว่างอิบรอฮีมถึงนูฮนั้นมีกี่รุ่น ชาม ลูกชายของนูฮ เป็นบรรพบุรุษของชาวเซมิติก.

นูฮถึงอะดัม[แก้]

รายงานจากอับดุลเลาะฮ์ อิบน์ อับบาสว่า มุฮัมมัดได้กล่าวว่า;

“ระหว่างนูฮถึงอะดัมมีอยู่ 10 ชั่วรุ่น ทั้งหมดนั้นอยู่ในกรอบชะรีอะฮ์แห่งความจริง จากนั้นจึงค่อยแย่ลง ดังนั้นอัลลอฮ์จึงส่งศาสดามาในฐานะผู้นำข่าวดีและผู้ตักเตือน”

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Maqsood, Ruqaiyyah Waris. "The Prophet's Line Family No 3 – Qusayy, Hubbah, and Banu Nadr to Quraysh". Ruqaiyyah Waris Maqsood Dawah. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-30. สืบค้นเมื่อ 2013-07-01.แม่แบบ:Reliable source
  2. Ibn Hisha=1. p. 181. {{cite book}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  3. Parolin, Gianluca P. (2009). Citizenship in the Arab World: Kin, Religion and Nation-State. p. 30. ISBN 978-9089640451. "The ‘arabicised or arabicising Arabs’, on the contrary, are believed to be the descendants of Ishmael through Adnan, but in this case the genealogy does not match the Biblical line exactly. The label ‘arabicised’ is due to the belief that Ishmael spoke Hebrew until he got to Mecca, where he married a Yemeni woman and learnt Arabic. Both genealogical lines go back to Sem, son of Noah, but only Adnanites can claim Abraham as their ascendant, and the lineage of Mohammed, the Seal of Prophets (khatim al-anbiya'), can therefore be traced back to Abraham. Contemporary historiography unveiled the lack of inner coherence of this genealogical system and demonstrated that it finds insufficient matching evidence; the distinction between Qahtanites and Adnanites is even believed to be a product of the Umayyad Age, when the war of factions (al-niza al-hizbi) was raging in the young Islamic Empire."
  4. 4.0 4.1 Hughes, Thomas Patrick (1995) [First published 1885]. A Dictionary of Islam: Being a Cyclopaedia of the Doctrines, Rites, Ceremonies, and Customs, Together With the Technical and Theological Terms, of the Muhammadan Religion. New Delhi: Asian Educational Services. p. 19. ISBN 978-81-206-0672-2. สืบค้นเมื่อ July 24, 2010.
  5. Koenig, Harold G. (2014-01-01). "Differences and Similarities". Health and Well-Being in Islamic Societies. Springer Science+Business Media. p. 97. The Quraysh was Nadhr, the 12th tribal generation down from Kedar, the son of Ishmael mentioned in the Bible.
  6. Ibn Hisham, Rahmat-ul-lil'alameen, 2/14-17.
  7. Firestone et al., 2001, pp. 11–12. This list of names is based on the work of a 16th-century Syrian scholar. Alternate transliterations of the Arabic appear in parentheses. For those names that have articles, which use the most common English name, the article has been linked, but the name appears as transliterated from the Arabic.