ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Saranphat chaiphet/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ราชรัฐนครน่าน (Rulers of Nan Kingdom)

 นครน่าน หรือ ราชรัฐนครน่าน (Principality of Nan) ได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2269 โดยในช่วงเวลานั้นราชรัฐต่างๆ ในดินแดนล้านนาเกิดสภาวะสุญญากาศทางการเมือง ถึงแม้ว่าอาณาจักรพม่าพยายามที่จะย้ายศูนย์กลางการปกครองไปยังเมืองเชียงแสน แต่ราชรัฐต่างๆ ในดินแดนล้านนาตอนล่าง ต่างแยกตัวเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกันและปกครองตนเอง ในลักษณะเดียวกันกับชุมนุมต่างๆ หลังเสียกรุงครั้งที่ 2 พระเจ้าหลวงติ๋นมหาวงศ์ ผู้ซึ่งถูกแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์พม่าให้มาเป็นเจ้าผู้ครองนครน่านได้ไม่นาน และได้สั่งสมฐานอำนาจในนครน่าน ทำให้สามารถปกครองนครน่านได้อย่างยาวนานโดยไม่ถูกพม่าแทรกแซง และสามารถสืบทอดอำนาจการปกครองต่อไปได้ภายใต้ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
 และมีนามเฉลิมนครว่า “พระนครสิริไชยนันทเทพบุรีสะหรีสรีสวัติพระนครเมืองน่านราชธานี”

ราชรัฐนครน่าน

พ.ศ. 2344–2474
  อาณาเขตราชรัฐนครน่าน (เน้นสีม่วงด้านบน)
สถานะประเทศราชของสยาม
เมืองหลวงนครเมืองน่าน
ภาษาทั่วไปคำเมือง
ศาสนา
ศาสนาพุทธ (เถรวาท)
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์
รายพระนาม เจ้าผู้ครองนครน่าน 
• สมเด็จเจ้าฟ้าตถวรปัญโญ
พ.ศ. 2329 - 2353(27 ปี)
• พระยาสุมนเทวราช
พ.ศ. 2353 - 2358(5 ปี)
• พระยามหายศ
พ.ศ. 2358 - 2368(10 ปี)
• พระยาอชิตวงษ์
พ.ศ. 2369 (7 เดือน)
• พระยามหาวงษ์
พ.ศ. 2370 - 2390(20 ปี)
• เจ้าอนันตวรฤทธิเดช
พ.ศ. 2390 - 2436(40 ปี)
• พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช
พ.ศ. 2436 - 2461(25 ปี)
• เจ้ามหาพรหมสุรธาดา
พ.ศ. 2461 - 2474(13 ปี)
ประวัติศาสตร์ 
พ.ศ. 2344
• ย้ายเมืองน่านไปอยู่บริเวณดงพระเนตรช้าง
พ.ศ. 2362
• ย้ายเมืองน่านจากเวียงเหนือ (บริเวณดงพระเนตรช้าง) กลับไปยังเวียงใต้
พ.ศ. 2397
• เสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงในอาณาเขตเมืองน่านให้แก่ฝรั่งเศส
พ.ศ. 2446
• ตั้งอาณาจักรหลักคำ(กฎหมายเมืองพระเจ้าน่าน )
พ.ศ.2396-2451
2474
พื้นที่
พ.ศ. 244636,972 ตารางกิโลเมตร (14,275 ตารางไมล์)
สกุลเงิน-
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ