ผู้ใช้:PP2014/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วิกิพีเดีย:โครงการคำทับศัพท์/การทับศัพท์ภาษาโปแลนด์

อักษรอาร์มีเนีย

ชื่อบุคคล[แก้]

  • 江川 [Jiāngchuān]
  • 張祖源 [Zhāngzǔyuán]
  • 杨震寰 [Yángzhènhuán]
  • 阮健彪 [Ruǎnjiànbiāo]
  • 田泽宇 [Tiánzéyǔ]
  • 巴特尔 [Bātè'ěr]
  • 강두형 [Gang duhyeong]
  • ឌី វណ្ណដា [Dy Vanda]
  • มาแร็ต บัลเกิสแต็ยน์-กร็อตฮึส [Maret Balkestein-Grothues]
  • ฮาร์รี ลัฟแร็ยเซิน [Harrie Lavreysen]
  • โจเซียะฮ์ อึง [Josiah Ng]
  • ไร เบนจามิน [Rai Benjamin]
  • ไมเคิล นอร์แมน (นักวิ่งระยะสั้น) [Michael Norman (sprinter)]
  • รอนนี เบเกอร์ [Ronnie Baker (athlete)]
  • [Neeraj Chopra]

ชิงแชมป์โลก 2009[แก้]

ในชิงแชมป์แห่งชาติ 2009 เอเดรียนได้อันดับ 1 ในรายการฟรีสไตล์ 50 เมตร และ 100 เมตร ทำให้เขาผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขันในกีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2009 ที่โรม[1][2]

ในกีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2009 เอเดรียนได้เหรียญทองในรายการผลัดฟรีสไตล์ 4×100 เมตรและผลัดผสม 4×100 เมตร เอเดรียนได้อันดับ 1 ในรายการฟรีสไตล์ 50 เมตร และอันดับ 10 ในรายการฟรีสไตล์ 100 เมตร[3][4] ในรายการผลัดฟรีสไตล์ 4×100 เมตร หลังจากที่ไมเคิล เฟ็ลปส์ ไรอัน ลอชต์ และแมตต์ กรีเวอส์ แข่งขันในเลกของเขาเสร็จ สหรัฐตามหลังทีมรัสเซียอยู่เล็กน้อย ถึงกระทั่งเอเดรียนได้ว่ายตีเสมอและแซง Danila Izotov ขึ้นเป็นอันดับหนึ่งด้วยเวลา 46.79 วินาที โดยเวลารวม 3:09.21 วินาที เป็นสถิติชิงแชมป์โลกใหม่[5] ในรายการผลัดผสม 4×100 เมตร เอเดรียนมีส่วนร่วมในรอบคัดเลือก (ร่วมกับ แมตต์ กรีเวอส์ มาร์ก แกงลอฟฟ์ และ ไทเลอร์ แม็กกิล) และได้รับเหรียญทองเมื่อทีมสหรัฐได้อันดับหนึ่งในรอบชิงชนะเลิศ[6]

2010[แก้]

ในชิงแชมป์แห่งชาติสหรัฐ 2010 เอเดรียนได้ผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขันในว่ายน้ำชิงแชมป์แพนแปซิฟิก 2010 โดยคว้าแชมป์รายการฟรีสไตล์ 50 เมตร และ 100 เมตร[7][8] ชัยชนะของเขาในรายการฟรีสไตล์ 100 เมตรยังรับประกันว่าเขาจะได้ตำแหน่งในผลัดฟรีสไตล์ 4×100 เมตรและผลัดผสม 4×100 เมตร

ในว่ายน้ำชิงแชมป์แพนแปซิฟิก 2010 เอเดรียนได้รับรางวัลเหรียญทองทั้งหมด 4 เหรียญ ซึ่งเป็นผลงานที่ดีที่สุดในอาชีพของเขา ในรายการแรกของเขา ฟรีสไตล์ 100 เมตร เอเดรียนคว้าเหรียญทองด้วยเวลา 48.15 วินาที โดยเอาชนะเบรนต์ เฮย์เดน ชาวแคนาดาและเจ้าของสถิติโลกในท่าฟรีสไตล์ 100 เมตร เซซาร์ ซีเอลู วันรุ่งขึ้น เอเดรียน

วันรุ่งขึ้น Adrian ร่วมกับ Michael Phelps, Ryan Lochte และ Jason Lezak ชนะการผลัดฟรีสไตล์ 4 × 100 ม. จากนั้น นาธาน เอเดรียนได้เข้าแข่งขันฟรีสไตล์ 50 ม. และผลัดรวม 4 × 100 ม. ในรอบชิงชนะเลิศฟรีสไตล์ 50 ม. Adrian ชนะด้วยเวลา 21.55 นำหน้า Cielu ชาวบราซิล ประมาณหนึ่งชั่วโมงต่อมา ในการผลัดผสม นาธานคว้าเหรียญทองต่อไปในการแข่งขันชิงแชมป์

สโลวีเนีย[แก้]

อักษร สัทอักษร การทับศัพท์ หมายเหตุ
b /b/
d /d/
c /d͡z/ ดส
/d͡ʒ/
f /f/
g /ɡ/
h /ɣ/
j /j/
k /k/
l, lj /l/
m /m/
n, nj /n/
n /ŋ/
p /p/
r /ɾ/
s /s/
š /ʃ/
t /t/
Consonants
IPA Letter Tonal
orth.
Examples nearest English equivalent
b b bob bob
d d dan done
d͡z c brivec brije[9] heads
d͡ʒ ez George
f f film film
ɡ g gora gore
ɣ h vrh drevesa[9] Spanish razgo
j j jaz[10] yaw
k k kolo cola
l l, lj[10] luka Luke
m m morje more
n n, nj[10] ne no
ŋ n banka[11] bank
p p pet pet
ɾ r robot robot (trilled)
s s stol stole
ʃ š šum shell
t t ti tattoo
t͡s c car shorts
t͡ʃ č čaj church
v f filozof Dolar[9] van
ʋ v voda van (weaker)
w l, v ł cerkev[12] we
x h harfa (Scottish) loch
z z zima zoo
ʒ ž žaba fusion

สรุปเหรียญกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

Chinese Lang Ping is the only player to win gold medals as player and coach, as part of the Los Angeles 1984 People's Republic of China squad and leading the Rio 2016 team.[13]

กีฬาวอลเลย์บอลเป็นหนึ่งในกีฬาที่ได้รับการบรรจุเข้าในโอลิมปิกฤดูร้อน ซึ่งมีการแข่งขันสองประเภทได้แก่ วอลเลย์บอลในร่ม แบบ 6 คน และวอลเลย์บอลชายหาด วอลเลย์บอลในร่มได้รับการบรรจุในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1957 ในการประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล สมัยที่ 53 ที่ โซเฟีย ประเทศบัลแกเรีย และการแข่งขันเริ่มขึ้นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ในโตเกียว สหภาพโซเวียตได้รับเหรียญรางวัลในการแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงติดต่อกัน 5 ครั้ง ซึ่งรวมถึงเหรียญทองในประเภททีมชายที่โตเกียว[14] ทีมชาติญี่ปุ่นทีมหญิงได้รับรางวัลเหรียญทองในการแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรกและได้เหรียญเงินใน 2 ครั้งต่อไป ในมอนทรีออลเกมส์ 1976 ทีมชาติโปแลนด์ทีมชายเป็นประเทศเดียวที่ได้รับรางวัลเหรียญทองในกีฬาวอลเลย์บอล หลังจากที่ทีมหญิงได้รับรางวัลเหรียญทองแดงในปี ค.ศ. 1964 และ ค.ศ. 1968 ในมอสโกเกมส์ 1980 เจ้าภาพสหภาพโซเวียตคว้าเหรียญทองในการแข่งขันทั้ง 2 ประเภท ทีมชาติบัลแกเรียเป็นประเทศเดียวที่ได้รับรางวัล 2 เหรียญจากวอลเลย์บอลในมอสโก โดยได้เหรียญเงินและเหรียญทองแดงในการแข่งขันประเภททีมชายและทีมหญิงตามลำดับ

หลังจากการคว่ำบาตรนำโดยสหรัฐในมอสโกเกมส์[15] สหภาพโซเวียตและพันธมิตรบางส่วนได้ตอบโต้โดยการคว่ำบาตรในลอสแอนเจลิสเกมส์ 1984 โดยอ้างเรื่องความปลอดภัย[16] สหรัฐได้รับรางวัลเหรียญแรกในกีฬาวอลเลย์บอลที่ลอสแอนเจลิสเกมส์โดยได้เหรียญทองในการแข่งขันประเภททีมชายและเหรียญเงินในประเภททีมหญิง[17][18] สาธารณรัฐประชาชนจีนได้รับรางวัลเหรียญทองในการแข่งขันประเภททีมหญิงในลอสแอนเจลิส ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ได้มีส่วนร่วมในการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลโอลิมปิก[19] สหรัฐประสบความสำเร็จสามารถรักษาแชมป์ได้อีกครั้งในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่โซล และเปรูได้รับรางวัลเพียงเหรียญเดียวในกีฬาวอลเลย์บอล โดยได้เหรียญเงินในประเภททีมหญิง สหภาพโซเวียตได้รับรางวัลเหรียญเงินในการแข่งขันประเภททีมชายและเหรียญทองในประเภททีมหญิง ซึ่งเป็นโอลิมปิกครั้งสุดท้ายของสหภาพโซเวียต[20] หลังจากในปี ค.ศ. 1990–1991 การล่มสลายของสหภาพโซเวียต 12 จาก 15 ประเทศที่ได้รับเอกราชเข้าร่วมแข่งขันในฐานะทีมรวมเฉพาะกิจในบาร์เซโลนา[21] ในการแข่งขันประเภททีมหญิง ทีมรวมเฉพาะกิจได้รับรางวัลเหรียญเงินและคิวบาได้รับรางวัลเหรียญทองเป็นครั้งแรกจากสามครั้งตามลำดับเหรียญทอง ในการแข่งขันประเภททีมชาย บราซิลได้รับรางวัลเหรียญทองเป็นครั้งแรกและเนเธอร์แลนด์ได้รับเหรียญเป็นครั้งแรกในกีฬาวอลเลย์บอล

เมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1993 ในการประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล สมัยที่ 101 ที่มอนเตคาร์โล คณะกรรมการลงมติให้บรรจุกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดทั้งชายและหญิงให้เป็นกีฬาในโอลิมปิกโดยเริ่มมีขึ้นในแอตแลนตาเกมส์ 1996[14] คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

ปรับปรุงใหม่[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "2009 Conoco Phillips National Championships – 50 m freestyle results (final)" (PDF). Omega Timing. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ August 6, 2009. สืบค้นเมื่อ August 27, 2010.
  2. "2009 Conoco Phillips National Championships – 100 m freestyle results (final)" (PDF). Omega Timing. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ August 6, 2009. สืบค้นเมื่อ August 27, 2010.
  3. "13th FINA World Championships – 50 m freestyle results (final)" (PDF). Omega Timing. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ October 4, 2009. สืบค้นเมื่อ September 12, 2010.
  4. "13th FINA World Championships – 100 m freestyle results (semi-finals)" (PDF). Omega Timing. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ August 6, 2009. สืบค้นเมื่อ September 12, 2010.
  5. Crouse, Karen (July 26, 2009). "Final-Leg Victory for U.S. 4x100 Relay". The New York Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 5, 2012. สืบค้นเมื่อ September 12, 2010.
  6. "13th FINA World Championships – 4×100 m medley relay (heats)" (PDF). Omega Timing. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ August 6, 2009. สืบค้นเมื่อ September 12, 2010.
  7. "2010 ConocoPhillips National Championships: Men's 50 m freestyle final" (PDF). Omega Timing. สืบค้นเมื่อ October 17, 2010.[ลิงก์เสีย]
  8. "2010 ConocoPhillips National Championships: Men's 100 m freestyle final" (PDF). Omega Timing. สืบค้นเมื่อ October 17, 2010.[ลิงก์เสีย]
  9. 9.0 9.1 9.2 [d͡z, ɣ, v] are allophones of /t͡s, x, f/ that occur before voiced consonants (Herrity (2000:16)).
  10. 10.0 10.1 10.2 Orthographic sequences ⟨lj, nj, rj⟩ are pronounced /lj, nj, rj/ only if a vowel follows, otherwise the /j/ is not pronounced. In the case of ⟨rj⟩ it is reflected in the orthography, but for ⟨lj, nj⟩ it is not.
  11. [ŋ] is an allophone of /n/ before /k, g, x/ (Pretnar & Tokarz (1980:21), Šuštaršič, Komar & Petek (1999:136)).
  12. In standard Slovene [w] is an allophone of /v/ (also /l/ in some cases) before consonants and pause (Šuštaršič, Komar & Petek (1999:136)).
  13. "Lang Ping became the first person in volleyball to win olympic gold as player and coach". FIVB.org. 21 August 2016. สืบค้นเมื่อ 21 August 2016.
  14. 14.0 14.1 "Chronological Highlights". Fédération Internationale de Volleyball. สืบค้นเมื่อ 9 July 2010.
  15. Cheporov, Edgar (7 August 1980). "U.S. Boycott Did No Harm to the 1980 Moscow Olympics". Pittsburgh Post-Gazette. Block Communications.
  16. Burns, John (9 May 1984). "Moscow Will Keep its Team from Los Angeles Olympics". The New York Times. The New York Times Company. p. A1.
  17. "U.S. Wins Volleyball". The Gazette. Montreal, Quebec: Southam Inc. 13 August 1984. สืบค้นเมื่อ 9 July 2010.
  18. Bock, Hal (8 August 1984). "Tears Flow for American Spikers". The Dispatch. Lexington, NC: The New York Times Company. สืบค้นเมื่อ 9 July 2010.
  19. "Volleyball; China, U.S. Victorious". The New York Times. The New York Times Company. 31 July 1984. สืบค้นเมื่อ 9 July 2010.
  20. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 88URS
  21. Erlanger, Steven (19 July 1992). "Olympics; Unified Team Faces Splintered Future". The New York Times. The New York Times Company. สืบค้นเมื่อ 11 July 2010.

เตรียมอัพเดท[แก้]

การแบ่งโปแลนด์ครั้งที่หนึ่ง[แก้]

Polish-Lithuanian Commonwealth after the First Partition as a protectorate of Russian Empire 1773–1789

การแบ่งโปแลนด์ครั้งที่หนึ่ง หรือ การแบ่งเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียครั้งที่หนึ่ง เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1772 เป็นการแบ่งครั้งที่หนึ่งจากทั้งหมดสามครั้งซึ่งยุติการดำรงอยู่ของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียใน ค.ศ. 1795 การเจริญเติบโตในอำนาจของจักรวรรดิรัสเซีย

พรมแดนโอเดอร์-ไนส์เซอ (Oder–Neisse line)[แก้]

พรมแดนโอเดอร์-ไนส์เซอ (โปแลนด์: granica na Odrze i Nysie Łużyckiej; เยอรมัน: Oder-Neiße-Grenze) เป็นพรมแดนระหว่างประเทศเยอรมนีและประเทศโปแลนด์ตั้งแต่ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อันเป็นผลมาจากการพ่ายแพ้ของเยอรมนีที่ทำให้สูญเสียดินแดนของตนให้กับโปแลนด์หลังจาก

แม่แบบ:Infobox NFL player[แก้]

{{{name}}}

{{{en_name}}}

[[File:{{{image}}}|200px]]
{{{caption}}}
{{{position}}}
{{{other_position}}}
วันเกิด:
วันที่เสียชีวิต:
สถานที่เกิด:{{{birth_place}}}
ส่วนสูง: {{{height}}} ซม. น้ำหนัก: {{{weight}}} กก.
เปิดตัวในเอ็นเอฟแอ
[[{{{draftyear}}}]] ([[{{{初出場チーム}}}]])
ข้อมูลอาชีพ
มหาวิทยาลัย: {{{university}}}
เอ็นเอฟแอลดราฟท์: [[{{{draftyear}}}]] / {{{draftround}}}/ {{{draftpick}}}
補完ドラフト:[[{{{プロ入り年度2}}}]]{{{ドラフト巡2}}}巡目
ซีเอฟแอลดราฟท์:[[{{{プロ入り年度3}}}]] / {{{ドラフト巡3}}}巡目(全体の{{{○番目2}}}番目)
ドラフト外([[{{{プロ入り年度4}}}]])
เอเอฟแอลดราฟท์:[[{{{プロ入り年度5}}}]] / {{{ドラフト巡4}}}巡目(全体の{{{○番目3}}}番目)
 所属チーム:
{{{過去の所属チーム}}}
通算成績
({{{年度}}}までの成績)
{{{成績名1}}}    {{{成績値1}}}
{{{成績名2}}}    {{{成績値2}}}
{{{成績名3}}}    {{{成績値3}}}
{{{成績名4}}}    {{{成績値4}}}
{{{成績名5}}}    {{{成績値5}}}
{{{成績名6}}}    {{{成績値6}}}
NFL.comよりの成績
受賞歴・記録
  • 特になし
NFL殿堂入り
カレッジフットボール殿堂入り
カナディアンフットボール殿堂入り
คู่มือการใช้งาน[สร้าง]


ภารกิจ[แก้]

 เกาหลีใต้
ทั่วไป

วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ[แก้]

จุดเริ่มต้น[แก้]

การแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์คัพเริ่มในปี ค.ศ. 1965 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเติมเต็มการหยุดชั่วคราวระหว่างการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและชิงแชมป์โลกจัดขึ้นเป็นประจำทุกๆ 4 ปี

References[แก้]

AVC[แก้]